Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา (ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา,…
การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา
ตัวอย่างแบบประเมินประสิทธิภาพเว็บไซต์ทางการศึกษาและแบบสอบถามความพึงพอใจ
เว็บไซต์ทางการศึกษา
แบบประเมินประสิทธิภาพเว็บไซต์ทางการศึกษา
ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพเว็บไซต์ทางการศึกษา
1 การออกเเบบมัลติมีเดีย
3 การออกแบบเนื้อหา
4 การออกแบบระบบนำทาง
2 การออกแบบส่วนต่อประสาน
5 การทดสอบการใช้งาน
6 การเข้าถึงข้อมูล
ข้อมูลส่วนตัวของผู้กรอกเเบบสอบถาม ประกอบด้วย 9 ด้านย่อย
บทบาทของผู้สอน
บทบาทของผู้เรียน
กิจกรรมการเรียนรู้
การให้ข้อมูลย้อนกลับ
การนำเสนอเนื้อหา
(Asynchronous)
บทเรียน
การทดสอบ
วัตถุประสงค์
การสร้างแบบสอบถาม/แบบประเมินออนไลน์ด้วย Google Form
การสมัครสมาชิก G-mail
สำหรับท่านที่เป็นสมาชิกอีเมลของ Google คือ Gmail อยู่แล้ว ท่านสามารถเข้าไปใช้บริการได้ทันที
แต่หากยังไม่ได้เป็นสมาชิก Gmail ท่านจำเป็นต้องสมัครสมาชิกของ Gmail โดยทำตามขั้นตอนดังนี้
คลิกที่ปุ่ม “สร้างบัญชี”
กรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์ม ใส่รหัสตามที่ปรากฏ และกดปุ่มสร้างบัญชี
หลังจากนั้นเราจะสามารถใช้งานบริการ ออนไลน์ต่างๆ ของ Google ได้ทุกบริการ
เปิดบราวเซอร์ แล้วเข้าเว็บไซต์ Gmail โดยพิมพ์ www.gmail.com และกด enter
การสร้างฟอร์ม
การเปลี่ยนชื่อฟอร์ม เริ่มต้นสร้างเอกสารใหม่ โปรแกรมจะกำหนดชื่อฟอร์มเป็น “ฟอร์มไม่มีชื่อ”แต่เราสามารถเปลี่ยนชื่อฟอร์มเองได้ใหม่ โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง “ฟอร์มไม่มีชื่อ” แล้วพิมพ์ชื่อฟอร์ม
ตั้งคำถามที่หัวข้อความ ถาม ตั้งชื่อคำถาม เช่น ชื่อเดิมของGoogle Docs ชื่ออะไร พิมพ์รายละเอียดคำถาม และเลือกว่าต้องการให้คำตอบเป็นแบบใด
คลิกปุ่ม “สร้างใหม่” แล้วเลือก “แบบฟอร์ม” จะปรากฏหน้าจอการสร้างฟอร์มแบบสอบถาม
ตัวอย่างแบบสอบถามรูปแบบเว็บไซต์ทางการศึกษา
แบบสอบถามเกี่ยวกับเว็บไซต์ระดับอุดมศึกษามี 3 ตอน
ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามและการเข้าใช้เว็บไซต์ทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา จำนวน 9 ข้อ
ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบโฮมเพจเว็บไซต์ทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาเรียงลำดับตามความสำคัญทั้ง 5 ด้าน
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบโฮมเพจเว็บไซต์ทางด้าน
การศึกษาระดับอุดมศึกษา แบ่งเป็นข้อสอบถามด้านองค์ประกอบ 11 ข้อ
แบบสอบถามเกี่ยวกับเว็บไซต์ทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบโฮมเพจเว็บไซต์ทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ตอนที่ 5 แบบสอบถามเกี่ยวกับการประเมินทดสอบเว็บไซต์
ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบโฮมเพจเว็บไซต์ทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ตอนที่ 4 แบบสอบถามการประเมินเว็บไซต์สำหรับการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง
ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามและการเข้าใช้เว็บไซต์ทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา
แนวทางในการประเมินสื่อเว็บส าหรับการเรียนการสอนแบบที่ 2
มี 8 มิติ
4) เทคโนโลยี (TECHNOLOGICAL)
5) การออกแบบส่วนต่อประสาน (INTERFACE DESIGN)
3) ศาสตร์ด้านการเรียนการสอน (PEDAGOGICAL)
6) การวัด-ประเมินผล (EVALUATION)
2) การจัดการ(MANAGEMENT)
7) แหล่งข้อมูลสนับสนุน (RESOURCE SUPPORT)
1) ความพร้อมของสถาบันการศึกษา(INSTITUTION)
8) จริยธรรม (ETHICAL)
การออกแบบส่วนต่อประสาน
1 ตรวจสอบดูว่าหน้าเว็บนั้นดูสวยงามหรือไม่
2 องค์ประกอบต่อไปนี้สนับสนุนเนื้อหาที่เป็นข้อความของรายวิชานั้นหรือไม่
3 หน้าเว็บมีพื้นที่ว่างหรือพื้นที่สีขาวเพียงพอหรือไม่
4 หน้าเว็บหรือโปรแกรมดึงดูดใจและเรียกความสนใจจากสายตาและการรับฟังของผู้ใช้
หรือไม่
5 ข้อความที่ใช้ในทุกๆ หน้าของเว็บไซต์หรือรายวิชานั้นอ่านง่ายหรือไม่
6 ในทุกๆ หน้าของเว็บไซต์หรือรายวิชา ใช้สีพื้นหลังของหน้าจอเข้ากันกับสีพื้นหน้าของ
หน้าจอหรือไม่
7 เว็บไซต์มีรูปแบบหน้าตาสอดคล้องกันกับหน้าตาของเอกสารประกอบรายวิชาที่ตีพิมพ์
ออกมาหรือไม่
14 เว็บไซต์มีการทำลิงค์ ไปสู่เว็บไซต์ ภายในสถาบันหรือไม่ให้ตรวจสอบการใช้ลิงค์
ดังกล่าว
8 เว็บไซต์หรือรายวิชาใช้รูปแบบตัวอักษรที่สอดคล้องกันหรือไม่
15 เว็บไซต์ของรายวิชามีลิงค์เชื่อมโยงไปยังหน้าเว็บและประวัติส่วนตัวของผู้สอนหรือไม่
9 เว็บไซต์หรือรายวิชาใช้รูปแบบตัวอักษรมาตรฐานหรือไม่
16 ภาพสีนั้นเมื่อพิมพ์ออกมาเป็นขาวดำแล้วสื่อความหมายออกมาเห็นชัดเจนหรือไม่
10 เว็บไซต์หรือวิชาใช้รูปแบบการจัดวางที่สอดคล้องกันหรือไม่
11 การเลือกภาพประกอบช่วยเพิ่มความเข้าใจของผู้เรียนในวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์
หรือไม่
12 ระยะเวลาที่ใช้ในการโหลดหน้าเว็บนั้นรวดเร็วเพียงใด หน้าจอ โหลดเร็วหรือไม่
13 รายวิชาได้ให้เครดิตกับผู้ที่เกี่ยวข้องในการออกแบบและพัฒนาบทเรียนหรือไม่
การออกแบบระบบนำทาง
3 เพื่อหลีกเลี่ยงการติดขัดของช่องทางการส่งข้อมูล ในรายวิชานั้นๆลงในฮาร์ดดิสก์ล่วงหน้าก่อนการเรียนการสอน หรือไม่
4 มีการแสดงคำอธิบายลิงค์ทั้งหมดอย่างชัดเจน และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้หรือไม่
2 รายวิชามีการสร้างแผนที่ของเว็บไซต์หรือไม่
5 เว็บไซต์มีลิงค์ภายในมากเกินไปจนทำให้ผู้ใช้สับสนหรือไม่
1 รายวิชามีการจัดโครงสร้างเนื้อหาอย่างชัดเจนหรือไม่
6 เว็บไซต์มีลิงค์ที่นำไปสู่เว็บอื่นๆ มากเกินไปจนทำให้ผู้ใช้สับสนหรือไม่
7 เว็บไซต์ใช้ไอคอนใดๆ ที่ยากต่อการจดจำหรือไม่
8 รายวิชาใช้สีของลิงค์ที่เคยเข้าแล้วกับลิงค์ที่ยังไม่เคยเข้าอย่างเหมาะสมหรือไม่
9 รายวิชามีโครงสร้างยืดหยุ่น เพื่อให้ผู้เรียนมีทางเลือกที่หลากหลายในการเรียนการสอนหรือไม่
10 รายวิชามีฟังก์ชั่นการแนะนำเส้นทางเข้าสู่บทเรียนให้กับผู้ใช้หรือไม่
11 การนำทางในเว็บไซต์ของรายวิชาใช้ง่ายหรือไม่
12 มีส่วนใดของลิงค์รายวิชาที่จะนำไปยังหน้าเว็บที่อยู่ในระหว่างการปรับปรุงหรือไม่
13 เว็บไซต์มีฟังก์ชั่นการค้นหาหรือไม่
14 รายวิชามีการใช้สัญลักษณ์และข้อความที่ช่วยในการนำทางผู้ใช้อย่างเหมาะสมหรือไม่
15 ทุกๆหน้าในรายวิชามีการทำลิงค์เพื่อกลับไปยังหน้าหลักของรายวิชาหรือไม่
16 ลิงค์ที่ใช้ภายในรายวิชา สามารถเชื่อมไปสู่หน้าเว็บที่ถูกต้องหรือไม่
17 ลิงค์ที่นำไปยังเว็บไซต์อื่น ๆ ภายนอกรายวิชา สามารถเชื่อมไปสู่หน้าเว็บที่ถูกต้องหรือไม่
18 รายวิชาหรือเว็บไซต์มีลิงค์ที่ไม่สามารถใช้งานได้หรือไม่
19 มีการใช้ลิงค์หลายมิติมากเกินไปในหน้ารายวิชาหรือไม่
20 คุณภาพของเสียงหรือวิดีโอที่ใช้ในรายวิชาเป็นอย่างไร
การเข้าถึงข้อมูล
3 รายวิชามีคำบรรยายสำหรับบทเรียนที่เป็นเสียงให้หรือไม่
4 หน้าจอที่หลากหลายของรายวิชาสามารถที่จะปรับขนาดเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ที่มีปัญหาด้านสายตาหรือไม่
2 รายวิชาได้ใช้ Alternate text สำหรับรูปภาพหรือไม่
5 สีทั้งหมดที่ใช้ในหน้าจอที่หลากหลายของรายวิชานั้น ถูกแยกได้อย่างชัดเจน โดยผู้ใช้ที่มีปัญหาทางสายตาหรือไม่
1 เว็บไซต์ของรายวิชาได้ถูกออกแบบมาให้สามารถเข้าถึงโดยกลุ่มผู้ใช้ที่หลากหลายหรือไม่
6 ผู้ใช้ที่ไม่สามารถใช้เมาส์นำทางในการเรียนอิเล็กทรอนิกส์สามารถใช้คีย์บอร์ดนำทางแทนได้หรือไม่
การออกแบบเนื้อหา
4 ข้อความถูกจัดกลุ่มและแสดงในลักษณะที่สามารถค้นหาและทำความเข้าใจได้หรือไม่
5 ตรวจสอบว่าทุกส่วนของการนำเสนอมีการใช้มัลติมีเดียในรายวิชาหรือไม่
3 รายวิชาเป็นไปตามกฎที่ว่า หนึ่งความคิดต่อหนึ่งย่อหน้าหรือไม่
6 ถ้าข้อ 5 ตอบว่าใช่ ความหลากหลายของมัลติมีเดียแต่ละส่วนนั้นส่งเสริมให้เกิดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพหรือไม่
2 ตรวจสอบ
7 รายวิชาใช้ส่วนการน าเสนอแบบมัลติมีเดียเพื่อสร้างการเรียนรู้ที่สำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่
1 ตรวจสอบว่ารายวิชาใดใช้วิธีใดบ้างในการดึงดูดความสนใจจากผู้เรียนให้ตรวจสอบทุกวิธีที่ใช้
8 เนื้อหาในรายวิชานั้นได้นำเสนออย่างเหมาะสมหรือไม่
9 เนื้อหาในรายวิชานั้นถูกนำเสนออย่างเหมาะสมและตรงประเด็นหรือไม่
10 รายวิชามีวิธีการที่สะดวกในการพิมพ์ข้อมูลเข้าสู่โปรแกรมสำหรับนักเรียนและผู้สอนไว้ให้ด้วยหรือไม่
การทดสอบการใช้งาน
1 มีการทดลองก่อนการใช้งานจริงกับตัวแทนผู้ใช้หรือไม่
2 ผู้ใช้สามารถหาค าตอบสำหรับคำถามที่พบบ่อยในเว็บไซต์รายวิชาภายในเวลาที่กำหนดได้หรือไม่
3 ผู้ใช้รู้หรือไม่ว่าตนเองอยู่ที่หน้าใดในเว็บไซต์และจะไปหน้าเว็บใดต่อโดยไม่ต้องใช้การคาดเดา
4 รายวิชาใช้คำศัพท์ที่ง่ายต่อการเข้าใจหรือไม่
5 ผู้เรียนสามารถที่จะดูตัวอย่างบางส่วนของรายวิชาได้หรือไม่
6 เว็บไซต์ถูกออกแบบมาเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าไปยังเนื้อหาส่วนที่เฉพาะได้ง่ายหรือไม่
แนวทางในการประเมินสื่อเว็บสำหรับการเรียนการสอนแบบที่ 3
มี 3 ประเด็นหลัก ๆ
(2) คุณภาพในการออกแบบ (Design Quality) 15 ประเด็น
(3) คุณภาพของเนื้อหา (Content Quality) 5 ประเด็น
(1) เรื่องของความน่าเชื่อถือ (Website Credibility) 5 ประเด็น
แนวทางในการประเมินสื่อเว็บไซต์สำหรับการเรียนการสอนแบบที่ 1
วัตถุประสงค์
(2) เพื่อพัฒนาเกณฑ์การประเมินโปรแกรมการเรียนการสอนผ่านเว็บให้มีประสิทธิภาพและมีมาตรฐานให้
เหมาะสมกับการเรียนการสอน
(1) เพื่อศึกษาเกณฑ์การประเมินโปรแกรมการเรียนการสอนผ่านเว็บ
วิธีการดำเนินงานวิจัย แบบเดลฟาย
(2) สรุปผลจากผู้เชี่ยวชาญ จากนั้น
นำมาจัดเป็นแบบสอบถาม และขอให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาแบบสอบถามอีกครั้ง
(3) ขอให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยัน
คeตอบในแบบสอบถามอีกครั้ง
(1) ผู้วิจัยสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ
(4) ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาความเหมาะสมต้นแบบชิ้นงานวิจัย ผลการวิจัยประกอบด้วย 20 ด้าน
เกณฑ์การประเมินด้านโฮมเพจบทเรียน
เกณฑ์การประเมินด้านการเชื่อมโยง
เกณฑ์การประเมินโปรแกรมค้นดูเว็บ
เกณฑ์การประเมินด้านวัตถุประสงค์ของบทเรียน
เกณฑ์การประเมินด้านสัญรูปและปุ่ม
เกณฑ์การประเมินด้านการนำเสนอเนื้อหา
เกณฑ์การประเมินด้านรายการ
เกณฑ์การประเมินด้านกิจกรรมการเรียนรู้
เกณฑ์การประเมินด้านสี
เกณฑ์การประเมินด้านกิจกรรมการเรียนรู้โดยอาศัยการสื่อสารในเวลาเดียวกัน
เกณฑ์การประเมินด้านเสียง
เกณฑ์การประเมินด้านกิจกรรมการเรียนรู้โดยอาศัยการสื่อสารต่างเวลากัน
เกณฑ์การประเมินด้านภาพวีดีทัศน์
เกณฑ์การประเมินด้านบทบาทผู้สอน
เกณฑ์การประเมินด้านภาพเคลื่อนไหว
เกณฑ์การประเมินด้านบทบาทผู้เรียน
เกณฑ์การประเมินด้านภาพ
เกณฑ์การประเมินด้านการให้ผลย้อนกลับ
เกณฑ์การประเมินด้านตัวอักษร
เกณฑ์การประเมินด้านการทดสอบ