Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Post term pregnancy) (การประเมินวินิจฉัย เฝ้าระวัง…
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Post term pregnancy)
ความหมาย
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Potterm หรือ Prolonged prenancy) GA 42 wks หรือ 249 วัน หรือ > โดยเริ่มนับจากวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้าย
อุบัติการณ์
พบได้ร้อยละ 4 - 14 การประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอนและกระตุ้นการคลอดก่อนที่จะเกิดการตั้งครรภ์เกินกำหนด ทำให้อุบัติการณ์ลดลงเหลือร้อยละ 1 - 3 หรือร้อยละ 10 ของทั้งหมด
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
3.1 สาเหตุ
7) ไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจากการคลาดเคลื่อนของการคิดอายุครรภ์
8) สตรีมีครรภ์ฝากครรภ์ช้า
9) ประจำเดือนไม่สม่ำเสมอและจำ LMP ได้ไม่แน่นอน
6) เคยผ่านการคลอดมากกว่า 4 ครั้ง
5) หญิงตั้งครรภ์วิตกกังวลสูง
4) Placental aging เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และ Collagen vascular disease
3) หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 25 ปี หรือมากว่า 35 ปี
2) ทารกที่มีความพิการ เช่น ต่อมหมวกไตฝ่อ ทารกสมองเล็ก ตั้งครรภ์ในช่องท้อง สภาพทารกผิดปกติ
1) ทารกหรือ amnion ที่ไม่สามารถกระตุ้นให้หลั่ง Prostaglandin จึงไม่มีอาการเจ็บครรภ์
10) รับประทานยาคุมกำเนิดถึง LMP
12) เคยได้รับยายับยั้งการคลอด
11) เลือดออกไตรมาสแรก หรือแท้งคุกคาม
3.2 ปัจจัยเสี่ยง
2) ปัจจัยด้านทารก: พบในทารกที่มีความพิการแต่กำเนิด เช่น Adrenal hypoplasia fetal anencephalophaty
3) ปัจจัยด้านรก: เช่น รกขาดเอนไซม์ Sulfatase pkacental sulfatase deficiency ซึ่งถ่ายทอดทางพันธุกรรฒแบบ X - linked มีผลให้ Hormone Estrogen ต่ำกว่าปกติ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
1) ปัจจัยด้านมารดา: พบได้ในการตั้งครรภ์แรก/มารดาครรภ์หลังที่เคยมีประวัติตั้งครรภ์เกินกำหนดในครรภ์ก่อน
ผลของการตั้งครรภ์เกินกำหนด
4.1 ผลต่อมารดา
2) มีการชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดเพิ่มขึ้น ต้องมีการ c/s เพิ่มขึ้น เพิ่มปัจจัยเสี่ยงจากการติดเชื้อ ตกเลือดหลัผ่าตัดคลอด
3) หญิงตั้งครรภ์มีความวิตกกังวลและเครียดเพิ่มขึ้น Catecholamines เพิ่มขึ้น ทำให้การคลอดยาวนานเพิ่มขึ้น
1) เกิดภาวะคลอดยาก (ร้อยละ 9 - 12) เกิดการบาดเจ็บจากการคลอดเพิ่มขึ้น เช่น ช่องคลอดฉีกขาด และตกเลือดหลังคลอด เป็นต้น
4.2 ผลต่อทารก
2) การบาดเจ็บจากการคลอด จากทารกส่วนใหญ่มีน้ำหนัก > 4,000 gms (Macrosomia)
คลอดล่าช้า
ขนาดศีรษะผิดสัดส่วนกับช่องเชิงกราน
ภาวะคลอดติดไหล่ -> บาดเจ็บต่อเส้นประสาท
ภาวะแทรกซ้อนระยะสั้น เช่น น้ำตาลในเลือดต่ำ และชัก
3) รกเสื่อมสภาพ (ร้อยละ 20 - 45) ส่งผลให้การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์หยุดชะงัก
1) การเสียชีวิตและพิการทางสมอง
4) Fetal distress จากภาวะน้ำคร่ำน้อย สายสะดือถูกกด (Cord compression)
5) เม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ (Polycythemia)
6) ทารกสำลักน้ำคร่ำและเสียชีวิตจากการสำลักขี้เทาได้
การประเมินวินิจฉัย เฝ้าระวัง และแนวทางการดูแลรักษา
5.3 ประเมินการตั้งครรภ์โดยการ Ultrasound
5.4 เฝ้าระวังภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
5.2 วินิจฉัยการตั้งครรภ์เกินกำหนดจากอายุครรภ์ทางคลินิก
5.5 ดูแลในระยะคลอดอย่างใกล้ชิด
5.1 เฝ้าระวังการตั้งครรภ์เกินกำหนด ประเมินอายุครรภ์ที่แม่นยำ
5.6 เมื่อทารกเกิด ต้องรีบดูดน้ำคร่ำในปากและคอให้มากที่สุด
5.7 ดูแลมารดาหลังคลอด
การพยาบาลและการป้องกัน
6.2 หลักการพยาบาลในแต่ละระยะ
2) ระยะคลอด
เตรียมผู้คลอดสำหรับการทำคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการตามความจำเป็น
ประเมินการบาดเจ็บของช่องคลอด เย็บซ่อมแซม และดูแลการหดรัดตัวของมดลูด
ดูแลเมื่อสตรีมีครรภ์ได้รับการชักนำให้เกิดการคลอด
เมื่อทารกเกิด ป้องกันการสำลักน้ำคร่ำของทารก
ตรวจครรภ์ เพื่อประเมินขนาดของทารกในครรภ์และติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินลักษณะของทารกที่คลอดเกินกำหนด และเฝ้าระวังภาวะ Hypoglycemia, Hypocalemia และ Hypothermia
1) ระยะตั้งครรภ์
ส่งต่อเพื่อการรักษาเมื่ออายุครรภ์ > 40 wks
ติดตามประเมินน้ำหนักของสตรีมีครรภ์และการลดของยอดมดลูกในระยะท้ายของการตั้งครรภ์
ตรวจครรภ์ถูกวิธี และติดตามผลการตรวจทุกครั้ง เพื่อประเมินความสัมพันะ์ระหว่างอายุครรภ์และระดับยอดมดลูก
ซักประวิติ: ประวัติการตั้งครรภ์เกินกำหนดทางกรรมพันธุ์และในการตั้งครรภ์ครั้งก่อน วินิจฉัยการตั้งครรภ์ คำนวณอายุครรภ์ และคาดคะเนกำหนดวันคลอดให้แม่นยำ
ติดตามดูแลเมื่อสตรีมีครรภ์ได้รับการชักนำให้เจ็บครรภ์คลอดด้วยการเจาะถุงน้ำคร่ำ
สอนนับลูกดิ้นถูกวิธี
6.3 การป้องกัน
กรณี LMP และคลื่นความถี่สูงคลาดเคลื่อนกัน 10 วัน ให้ใช้วันกำหนดคลอดตามคลื่นความถี่สูงในไตรมาสที่สอง
ถ้ามีการตรวจด้วยคลื่นความถี่สูงทั้งในไตรมาสแรกและสอง ให้คิด GA จากไตรมาสที่ 1
กรณี LMP และคลื่นความถี่สูง คลาดเคลื่อนกัน 5 วัน ให้ใช้วันกำหนดคลอดตามคลื่นความถี่สูงในไตรมาสแรก
การเจาะถุงน้ำคร่ำ ระหว่าง GA 38 - 41 wks ในขณะที่ปากมดลูกเปิดเล็กน้อย เพื่อให้มีการกระตุ้นการเจ็บครรภ์คลอดด้วยการหลั่งของ Protaglandin
ยืนยันอายุครรภ์ที่แม่นยำโดยการตรวจครรภ์ด้วยการ Ultrasound ในไตรมาสที่ 1 เมื่อ GA 11 - 14 wks
กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดเมื่อ GA 41 - 42 wks
6.1 ตัวอย่างข้อวินิจฉัยการพยาบาล
3) โศกเศร้า เนื่องจากมีแนวโน้มที่จะสูญเสียทารกหรือทารกพิการ
4) วิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองและทารก
2) ขาดความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อน แนวทางการรักษา และผลลัพธ์สุดท้ายที่อาจเกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์และทารก
5) กลัวตนเองหรือบุตรเสียชีวิต
1) ทารกเสี่ยงต่อ/ขาดออกซิเจน เนื่องจากรกเสื่อม สายสะดือถูกกด (Cord compression) และการสำลักน้ำคร่ำในระยะคลอด