Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute sinusitis with arhital cellulitis with Lt. Fungal ball Lt. maxillary…
Acute sinusitis with arhital cellulitis with Lt. Fungal ball Lt. maxillary sinus Rt. Sphenoid sinus R/O Invasive fungal sinusitis
Case Study
การวินิจฉัยครั้งแรก Orbital Cellulitis (เนื้อเยื่อเบ้าตาอักเสบ)
Present Illness :
3-4 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการปวดหัว Sinus และ คลื่นไส้อาเจียนไปพบแพทย์ ที่คลินิกศูนย์แพทย์พัฒนา ได้ยามารับประทาน ไม่ดีขึ้น
1 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการมากขึ้น ปวดหัวมากขึ้น คลื่นไส้อาเจียน และตาบวม 2 ข้าง
1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยจึงมาพบแพทย์ แพทย์มี order ให้ admit เพื่อ OR
Chief Complaint :
ปวดหัว ตาบวม 1 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล
Past Illness :
Hypertension(ความดันโลหิตสูง)
Diabetes Mellitus(โรคเบาหวาน)
Dyslipidemia(โรคไขมันในเลือดสูง)
Thalassemia
ประวัติการผ่าตัด
14 สิงหาคม 62 : op Full FESS wtih orbital decepresion
16 สิงหาคม 62 : op endoscopic with clean nose
20 สิงหาคม 62 : op endoscopic with clean nose
Patient Data
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 79 ปี ผมสั้นสีดำปนขาว รูปร่างอ้วน รู้สึกตัวดี ลืมตาได้ มีสายให้อาหารทางปาก ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ นอนติดเตียง
ประวัติการแพ้ Cyredol(ยาแก้ปวด)
ยา
Losec 20 mg 1x1 Oral ac
เป็นยาลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
ผลข้างเคียง : ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง มีแก๊สในกระเพาะอาหาร
Paracetamol 500 mg 1 tap Oral prn q 4-6 hr
บรรเทาอาการปวดและช่วยลดไข้
ผลข้างเคียง : อุจจาระเป็นเลือด หรือมีสีดำ ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะน้อยลงอย่างไม่มีสาเหตุ มีอาการไข้ หนาวสั่น
Voriconazole 200 mg 1 tab Oral q 12 hr
เป็นยาต้านเชื้อรากลุ่ม triazole
ผลข้างเคียง : การมองเห็นที่เปลี่ยนไป ซึ่งอาจพบความผิดปกติในลักษณะของการมองที่ไม่ชัด (blurred) การมองเห็นสีเปลี่ยนไป ภาวะกลัวแสง (photophobia)
Seroquel 25 mg 1x1 Oral hs
บรรเทาอาการประสาทหลอน
ผลข้างเคียง : ท้องผูก ง่วงนอน ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย น้ำหนักเพิ่ม ตาพร่ามัว หรือปากแห้ง
Prednisolone 5 mg 3x1 Oral pc
ยาสเตอรอยด์สำหรับรักษาภูมิแพ้, การอักเสบ
ผลข้างเคียง : น้ำคั่งในร่างกาย ความดันโลหิตสูง ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Cogetine eye oint.5 gm ป้ายตา 2 ข้าง ก่อนนอน
รักษาอาการตาอักเสบ
ผิวหนังซีด เลือดออก หรือมีรอยฟกช้ำโดยไม่ทราบสาเหตุ อ่อนเพลีย
mixtard 18 unit sc ac เช้า, 10 unit sc ac เย็น
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ผลข้างเคียง : ระวังภาวะ Hypoglycemia
NSS 0.9 % ใช้ล้างจมูกครั้งละ 250 cc วันละ 4 ครั้ง เช้า กลางวัน เย็น ก่อนนอน
off
Tazocin 3.375 gm V q 6 hr
ยาปฏิชีวนะรักษาการติดเชื้อแบบ moderate –severe
แดง, ปวด, บวมปวดหัว, นอนไม่หลับ ความดันเลือดต่ำ, หนาวสั่น, ท้องร่วง, คลื่นไส้, อาเจียน, ท้องผู
เริ่มให้ 18/09/62
พยาธิ Sinusitis (การอักเสบของเยื่อบุโพรงอาการข้างจมูกเนื่องจากการติดเชื้อ)
สาเหตุ
Rhinosinusitis การอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูกที่เกิดขึ้นเป็นผลมาจากการอักเสบของเยื่อบุช่องจมูก(rhinogenic origin)
Odontogenic sinusitis การอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูกสืบเนื่องมาจากความผิดปกติเกี่ยวกับปัญหาของฟัน
เชื้อสาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย
แบคทีเรียชนิดแอโรบส์
streptococcus pneumoniae
Hemophilus influenza
แบคทีเรียชนิดแอนแอโรบส์
คำนึงการติดเชื้อชนิดแอนแอโรบส์ในกรณี
หนองมีกลิ่นเหม็น
เกิดการติดเชื้อหลังผ่าตัดหรือมีต้นเหตุทาจากการติดเชื้อที่ฟัน
มีการทำลายของเนื้อเยื่อและมีฝีหนองเกิดขึ้น
พบ mixed flora จากการย้อมสีแกรมหรือเพาะเชื้อแบคทีเรียชนิดแอโรบส์ไม่ขึ้น
Ex.
Propionibacterium
Peptostreptococcus
Bacteroides species
Fusobacterium
เชื้อไวรัส
พบบ่อย Rhinovirus
เชื้อรา
ไซนัสอักเสบจากเชื้อราชนิดลุกลาม (invasive fungal rhinosinusitis)
ชนิดลุกลามและเฉียบพลัน (acute fulminant/ invasive fungal rhinosinusitis)
ลุกลามเข้าเส้นเลือด และมีอาการที่รวดเร็วรุนแรงภายใน 4 สัปดาห
ชนิดลุกลามและเรื้อรัง (chronic invasive fungal rhinosinusitis)
ไซนัสอักเสบจากเชื้อราที่ลุกลาม และมีช่วงเวลาที่เป็นนานกว่า 4 สัปดาห์
ไซนัสอักเสบจากเชื้อราชนิดไม่ลุกลาม (non-invasive fungal rhinosinusitis)
ชนิดเป็นก้อนเชื้อรา (fungal ball)
เกณฑ์การวินิจฉัย
มีประวัติเป็นไซนัสอักเสบที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาโดยทั่วไป (เนื่องจากเป็นเชื้อราจึงไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพ)
ตรวจร่างกายพบว่าเป็นการอักเสบที่เป็นกับไซนัสเดี่ยวๆ
ตรวจทางรังสีพบว่าไซนัสที่มีเการอักเสบจะมีลักษณะทึบรังสีซีึ่งอาจมีก้อนแคลเซียมเป็นบางจุด
ชนิดของเชื้อราที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดก้อนเชื้อรา ได้แก่ Aspergillus เป็นส่วนใหญ
เมื่อส่งเยื่อบุไซนัสตรวจจะพบว่าไม่มี การลุกลามของเชื้อรา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค
เชื้อรา เมื่อถูกสูดเข้ามากับลมหายใจและ ค้างอยู่ในโพรงจมูก หรือไซนัส
พบกับสภาพแวดล้อมในจมูกและไซนัสที่เหมาะสม
จะทําให้มีการเพิ่มจานวนของเชื้อรานั้น
1 more item...
การดําเนินโรคของไซนัสอักเสบชนิดเป็นก้อนเชื้อรา
มักจะเป็นอย่างช้าๆ และ ไม่รุนแรงผู้ป่วยอาจมีอาการเป็นเดือนหรือเป็นปี ก่อนที่จะสามารถวินิจฉัยได
การรักษา
การระบายรูเปิดของไซนัส และนำก้อนเชื้อราที่อยู่ในไซนัสนั้นออกมา
ใช้กล้องส่องผ่านรููจมูกและทําการขยายรูเปิดของไซนัส
ชนิดภูมิแพ้(allergic fungal rhinosinusitis
ผู้ป่วยไซนัสอักเสบที่มีภาวะภูมิแพ้ต่อเชื้อรา ร่วมกับอาการคัดจมูกจากริดสีดวงจมูก
Sinus
Frontal sinus: บริเวณหัวคิ้ว
Ethmoid sinus: บริเวณหัวตา
Maxillarysinus: บริเวณโหนกแก้ม
Sphenoid sinus: บริเวณฐานสมอง
อาการและอาการแสดง
คัดจมูก (nasal blockage/
obstruction/congestion)
น้ำมูกไหล ซึ่งอาจไหลออกมาทางรูจมูก หรือไหลลงคอ (anterior/posteriornasal drip)
อาการปวด หรือรู้สึกตื้อ ๆ บริเวณ
ข้างจมูก หรือใบหน้า
ระยะ
เวลา
ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน (acute
rhinosinusitis)
ไซนัสอักเสบที่มีอาการน้อยกว่า 12 สัปดาห์และอาการต่าง ๆ หายสนิท(complete resolution)
ไซนัสอักเสบเรื้อรัง (chronic
rhinosinusitis: CRS)
ไซนัสอักเสบที่เป็นมานานมากกว่า หรือเท่ากับ 12สัปดาห์และในช่วงที่เป็นนั้น อาการต่าง ๆ ไม่มีช่วงที่หายเลย(without resolution of symptoms)
พยาธิกำเนิด
เชื้อแบคทีเรีย (bacterial pathogen)
ความผิดปกติของการพัดโบกของ
ซีเลีย (ciliary dysfunction)
ภาวะภูมิแพ้ (allergy)
ภาวะกรดไหลย้อน (laryngopharyngeal reflux)
ปัจจัยเฉพาะที่ในจมูก หรือ
บริเวณข้างเคียง (local host factor)
ภาวะแทรกซ้อนของไซนัสอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อนที่มีผลต่อเยื่อบุทางเดิน
หายใจส่วนบนและล่าง
ภาวะแทรกซ้อนของไซนัสอักเสบที่ลาม
ไปตา (orbital complication)
Periorbital cellulitis การอักเสบที่ลุกลามไปอยู่ที่บริเวณด้านหน้าของ orbital septum
Orbital cellulitis การอักเสบได้ลามออกมานอก orbital septum การตรวจร่างกายผู้ป่วย จะเห็นลูกตา
โปนออก (proptosis) ร่วมกับการที่ผู้ป่วยกลอกตาได้ไม่เต็มที่
Subperiosteal abscess มีการสูญเสียความสามารถในการกลอกลูกตา (ophthalmoplegia) และการมองเห็นลดลง หรือเสียไป
Orbital abscess มักเกิดขึ้นเนื่องจากผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม และทันท่วงที การรักษา ประกอบด้วยการผ่าตัดระบายฝี
Cavernous sinus thrombosis มีการอักเสบลามจากตาสู่ cavernous sinus และไปที่ตาอีกข้าง และมีอัมพาตของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 3, 4, 5, 6 การตรวจร่างกายพบลูกตาทั้งสองข้างโปน กลอกตาไม่ได้ มี papilledemaและไข้สูง เมื่อเกิดการอักเสบถึงระดับนี้แล้วมี morbidity and mortality rate ค่อนข้างสูง
ภาวะแทรกซ้อนของไซนัสอักเสบที่
ลามไปสมอง (endocranial complication)
ภาวะแทรกซ้อนของไซนัสอักเสบที่
ลามไปกระดูก (osseous complication)
ข้อวิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อในโพรงไซนัส
ข้อมูลสนับสนุน
-ตอนสวนล้างจมูก ผู้ป่วยมีเสมหะสีขาว เหนียวข้น และมีลิ่มเลือดปนเล็กน้อย
-ผลการตรวจ sputum Gram’s stain(11/09/62) พบ Gram Negative Bacilli, Gram Positive Cocci (Chain)
-ผลตรวจ Pus Lt. Posterior Ethmoid(15/08/62) พบ white blood cells, Hyphae และ Gram negative rods
วัตถุประสงค์ ลดภาวะติดเชื้อในโพรงไซนัส
เกณฑ์ประเมินผล
-อุณหภูมิร่างกาย 36.5-37.4 องศาเซลเซียส-ไม่มีเสมหะ และลิ่มเลือดตอนสวนล้างจมูก
-ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ sputum C/S และ sputum Gram’s stain พบเชื้อน้อยลง
กิจกรรมการพยาบาล
วัดอุณหภูมิร่างกาย ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
ดูแลความสะอาดร่างกาย โดยฉพาะบริเวณช่องปาก และสิ่งแวดล้อม
ให้การพยาบาลโดยยึดกลัก Aseptic technique
4.ดูแลให้การสวนล้างจมูกด้วย NSS 0.9% ครั้งละ 250 cc วันละ 4 ครั้ง เช้า กลางวัน เย็น ก่อนนอน5.ดูแลให้ได้รับการป้ายตา 2 ข้าง ก่อนนอน ด้วย Chloramphenicol 1% eye oint.5 gm
ดูแลให้ได้รับยา Voriconazole 200 mg 1 tab Oral q 12 hr และ Tazocin 3.375 gm V q 6 hr + NSS 100 ml
6.เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อในโพรงไซนัส Orbital cellulitis โดยสังเกตและประเมินการมองเห็น การกลอกตา ตาพร่ามัว การอักเสบลักษณะปวดบวมแดงร้อน สิ่งคัดหลั่งที่ไหลจากตา
ติดตามผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ประเมินผลการพยาบาล(18/09/62)
-สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 38.3 องศาเซลเซียส ความดันโลหิต 150/92 mmHg ชีพจร110 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที)
ผู้ป่วยมีภาวะโซเดียมในเลือดสูง
ข้อมูลสนับสนุน
-ผู้ป่วยกระหายน้ำ เยื่อบุช่องปากแห้ง ผิวหนังแห้งตึง
Na ในเลือด 147 mmol/L(14/09/62)
วัตถุประสงค์ มีความสมดุลของระดับโซเดียมในเลือด
เกณฑ์ประเมินผล
-ไม่มีอาการของภาวะ Hypernatremia มากกว่าปกติ คือ กระหายน้ำมาก ผิวหนังแดง ตึง บุคลิกภาพเปลี่ยน และสับสนเป็นต้น
-สัญญาณชีพปกติ (อุณหภูมิ 36.5-37.4 องศาเซลเซียส ความดันโลหิต systolic 90-120 mmHg diastolic 60-90 mmHg ชีพจร 60-100 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 16-20 ครั้ง/นาที)
-Na ในเลือด 136-145 mmol/L
กิจกรรมการพยาบาล
1.ติดตามและประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ Hypernatremia มากกว่าปกติ คือ กระหายน้ำมาก ผิวหนังแดง ตึง บุคลิกภาพเปลี่ยน และสับสนเป็นต้น
2.ดูแลให้ได้รับน้ำทดแทนทางสายให้อาหาร 150 ml หลังให้อาหาร 4 ครั้ง/วัน
3.ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ และอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
4.บันทึกปริมาณน้ำเข้าและออกจากร่างกาย ทุก 8 ชั่วโมง เพื่อประเมินสมดุลน้ำในร่างกาย
5.ประเมินภาวะบวม เพื่อประเมินการคั่งของน้ำในร่างกาย
6.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ ระดับโซเดียมในเลือด
ประเมินผลการพยาบาล(16/09/62)
-Na ในเลือด 141 mmol/L (16/09/62)
-ผู้ป่วยกระหายน้ำ เยื่อบุช่องปากแห้ง
-สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 37.1 องศาเซลเซียส ความดันโลหิต 140/90 mmHg ชีพจร 90 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที)
ผู้ป่วยไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้เนื่องจากช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
ผู้ป่วยมีอาการสับสน
PAT score 9 คะแนน (เสี่ยงสูง)
ผู้ป่วยมีแผล IAD บริเวณรอบรูทวารแล้ว สะโพกซ้าย 1x1 cm สะโพกขวา 1x2 cm stage 2
-ผู้ป่วยมีแผลที่เท้าขวา
-fall score 5 คะแนน (มีความสูงต่อการพลัดตกหกล้ม)
วัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
เกณฑ์ประเมินผล
-ร่างกายและสิ่งแวดล้อมผู้ป่วยสะอาด
-ผู้ป่วยไม่มีภาวะขาดสารน้ำและสารอาหาร
PAT score < 9 คะแนน
-fall score < 5 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลช่วยเหลือกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย คือ อาบน้ำ ทำคความสะอาดช่องปาก
ทำความสะอาดแผลที่เท้าขวาทุกวันเวลา 10.00 น. ด้วย 0.9% NSS โดยยึดหลัก Aseptic technique
3.ดูแลได้รับอาหารตามเวลา BD (1.5:1) x 250 ml x 4 Feed น้ำตาม 50 ml/มื้อ และได้รับยาตามการรักษาของแพทย์
4.ดูแลให้พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันแผลกดทับ
ดูแลและแนะนำการออกกำลังกายของผู้ป่วย เพื่อป้องกันข้อยึดติด
ดูแลความสะอาดผิวหนังหลังการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ โดยเปลี่ยนแพมเพิสทุกครั้งหลังการขับถ่าย ล้างทำความสะอาดจากด้านหน้าไปด้านหลัง ไม่ออกแรงถูผิวแรง ซับให้แห้ง ไม่อับชื้น และหลังทำความสะอาดทา Zine oxide cream ทุกครั้งเพื่อให้ผิวหนังชุ่มชื้น
7.จัดเตียงผู้ป่วยให้อยู่ใกล้กับNurse Station
8.แขวนป้ายสัญลักษณ์ Fall Precautions ที่บริเวณเตียงผู้ป่วย และติด Sticker สีเหลืองสัญลักษณ์ Fall Precautions ที่แฟ้มเวชระเบียนผู้ป่วยทางด้านขวาบน
ยกไม้กั้นเตียงขึ้น 2 ข้าง ทุกครั้งหลังให้การพยาบาล
10 .ดูแลสายผูกยึดผู้ป่วยไม่ให้รัดแน่นและดึงรันจนเกินไป ตรวจสอบว่าบริเวณที่ผูกแดง มีแผลหรือไม่
ปรับระดับความสูงของเตียงให้ต่ำสุดตามสภาพผู้ป่วย
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะHyperglycemiaจากผลข้างเคียงของยาPeadnisolone
ข้อมูลสนับนุน
-ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวคือ เบาหวาน
-ระดับน้ำตาลในเลือดวันที่ 17/09/62 116-279 mg/dl
-ผู้ป่วยได้รับยา Peadnisolone 5 mg 1x1 oral pc.
วัตถุประสงค์ป้องกันการเกิดภาวะ Hyperglycemia
เกณฑ์ประเมินผล
-ผู้ป่วยไม่มีอาการของภาวะHyperglycemia (ซึมลงมองเห็นไม่ชัด กระหายน้ำมาก กระหายน้ำมาก เหนื่อยง่าย คลื่นไส้อาเจียน)
-ผู้ป่วยไม่มีอาการของภาวะ Hypoglycemia (หน้ามืด ใจสั่น ซึมลง)
-ระดับน้ำตาลในเลือด 80-200 mg/dl
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง คือ ซึมลงมองเห็นไม่ชัด กระหายน้ำมาก กระหายน้ำมาก เหนื่อยง่าย คลื่นไส้อาเจียน และประเมินอาการของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำหน้ามืด ใจสั่น ซึมลง
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับ mixtard 20-0-10 unit sc ac เวลา 5.30 น. และ 15.30 น.
3.วัดระดับน้ำตาลในเลือด 2 ครั้ง/วัน เวลา 06.00น. และ 15.00น.
4.หากวัดระดับน้ำตาลในเลือดได้
201-250 mg% ให้ Humulin R 4 unit sc.
251-300 mg% ให้ Humulin R 6 unit sc.
301-350 mg% ให้ Humulin R 8 unit sc.
351-400 mg% ให้ Humulin R 10 unit sc.
<80, >400 p/s notify
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาได้รับยา Peadnisolone 5 mg 1x1 oral pc.
ประเมินผลการพยาบาล(18/09/62)
-ระดับน้ำตาลในเลือดวันที่
16/09/62 ได้ 117-380 mg/dl
-ผู้ป่วยได้รับ mixtard 20-0-10 unit sc ac + Humulin R 10 unit sc.
ผู้ป่วยมีภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
ข้อมูลสนับสนุน
-Potassium (K) ในเลือด 3.34 mmol/L (16/09/62)
วัตถุประสงค์ มีความสมดุลของระดับโพแทสเซียมในเลือด
เกณฑ์ประเมินผล
-ไม่มีอาการของภาวะ Hypokalemia เช่น กล้ามเนื้อแขน ขา อ่อนแรง หายใจตื้น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด เป็นต้น
-Potassium (K) ในเลือด ปกติ 3.5-5.1 mmol/L
-สัญญาณชีพปกติ (อุณหภูมิ 36.5-37.4 องศาเซลเซียส ความดันโลหิต systolic 90-120 mmHg diastolic 60-90 mmHg ชีพจร 60-100 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 16-20 ครั้ง/นาที)
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับ E.KCl 50 ml TF q 3 hr 10.00 น.และ 13.00 น. เป็นยารักษาภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ โดยผลข้างเคียงคือ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ท้องอืด จุกเสียดท้อง หรือสังเกตเห็นยาโพแทสเซียมคลอไรด์ปะปนออกมากับอุจจาระ
2.ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ หากชีพจรเต้นช้า ไม่สม่ำเสมอ อัตราการหายใจตื้น ความดันโลหิตต่ำลง ควรรายงานแพทย์
3.บันทึกปริมาณน้ำเข้าและออกจากร่างกาย ในผู้ป่วยที่ได้รับโพแทสเซียมทดแทน หากมีปัสสาวะออกน้อยกว่า 20 ml/hr ติดต่อกัน 2 ชั่วโมง หรือออกน้อยกว่าวันละ 600 ml ควรรายงานแพทย์ เนื่องจากอาจเกิดภาวะ Hyperkalemia
4.สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะ Hypokalemia เช่น กล้ามเนื้อแขน ขา อ่อนแรง หายใจตื้น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด เป็นต้น เพื่อประเมินการตอบสนองการรักษา
5.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อประเมินระดับโพแทสเซียมในเลือด
ประเมินผลการพยาบาล(17/09/62)
-K ในเลือด 3.76 mmol/L (17/09/62)
-สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 37.5 องศาเซลเซียส ความดันโลหิต 120/60 mmHg ชีพจร 100 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที
-ผู้ป่วยไม่มีอาการของภาวะ Hypokalemia เช่น กล้ามเนื้อแขน ขา อ่อนแรง หายใจตื้น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด
ผู้ป่วยมีภาวะต่อมหมวกไตบกพร่อง(Adrenal insufficiency)
ข้อมูลสนับสนุน
-Morning cortisol 6.80 ug/dL (10/09/62)
-ผู้ป่วยเคยรับประทานยาลูกกลอน
-ผู้ป่วยเคยมีภาวะต่อมหมวกไตบกพร่อง
วัตถุประสงค์ ผู้ป่วยไม่มีภาวะต่อมหมวกไตบกพร่อง
เกณฑ์ประเมินผล
-Morning cortisol 3.7-19.4 ug/dL
-ไม่มีอาการของภาวะต่อมหมวกไตบกพร่อง คือ อ่อนเพลีย อ่อนแรง ซึมเศร้า เบื่ออาหาร น้ำหนักลด เวียนศีรษะ ความดันโลหิตต่ำ คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย โซเดียมต่ำ น้ำตาลในเลือดต่ำ ซีด
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการของภาวะต่อมหมวกไตบกพร่อง คือ อ่อนเพลีย อ่อนแรง ซึมเศร้า เบื่ออาหาร น้ำหนักลด เวียนศีรษะ ความดันโลหิตต่ำ คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย โซเดียมต่ำ น้ำตาลในเลือดต่ำ ซีด
2.ดูแลให้ได้รับยา Peadnisolone 5 mg 1x1 oral pc. เฝ้าระวังผลข้างเคียงยา คือ น้ำคั่งในร่างกาย ความดันโลหิตสูง ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
3.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อประเมินระดับcortisol
Sodium Bicarbonate 300 mg 1x3 Oral pc
เป็นยาลดกรด บรรเทาอาการแสบร้อนกลางอก บรรเทาอาการจุกเสียด ลดอาการระคายเคือง
ผลข้างเคียง : อาจทำให้เกิดภาวะเลือดเป็นด่าง (Alkalosis) ภาวะโซเดียมสูงในร่างกาย (Hypernatremia) และภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ (Hypocalcemia)