Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การบริหานงานวิชาการ (การพัฒนางานวิชาการผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง…
บทที่ 4 การบริหานงานวิชาการ
การพัฒนางานวิชาการผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
องค์ประกอบที่สำคัญ
ต้องมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
ร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมมือ
ภาวะผู้นำร่วม
กัลยามิตร
ต้องปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพ
การศึกษาบทเรียนร่วมกัน Lesson Study
ปฏิบัติการสอนและสังเกต
สะท้อนผล
วางแผน
คุณลักษณะที่สำคัญ
การสืบสอบเพื่อสะท้อนผลเชิงวิชาชีพ
การร่วมมือรวมพลัง
การร่วมกันรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน
การสนับสนุนการจัดลำดับโครงสร้างและความสัมพันธ์ของบุคลากร
การมีบรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน
ความหมายการบริหารงานวิชาการ
เป็นกระบวนการดำเนินงานและการจัดกิจกรรมทุกอย่างที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้การเรียนการสอนดำเนินไปได้อย่างราบรื่น ซึ่งการดำเนินงานของงานวิชาการควรมีการดำเนินงานประสานกันกับทุกฝ่ายในสถานศึกษา แต่ละแห่งอาจมีขอบข่ายงานที่ผู้รับผิดชอบงานด้านวิชาการต้องรับผิดชอบไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบริบทของสถานศึกษานั้นๆ
ขอบข่ายงานและหลักการบริหารงานวิชาการ
ขอบข่ายงานและหลักการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาระดับการอาชีวศึกษา
สิ่งที่การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพพึงคำนึงถึง
การมีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในมางปฏิบัติ
การศึกษาในด้านวิชาชีพตามความถนัดและความสนใจอย่างทั่วถึง
การมีส่วนร่วมของชุมชน สังคม สถานประกอบการในการกำหนดนโยบายและมาตรฐาน
การศึกษาที่มีความยืดหยุ่นและหลากหลาย
มีระบบจูงใจให้สถานประกอบการมีส่วนร่วมในการฝึกอบรมวิชาชีพและจัดการอาชีวศึกษา
การระดมทรัพยากรทั้งจากภาครัฐและเอกชน
การมีระบบการพัฒนาครูและคณาจารย์ของอาชีวศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ขอบข่ายงานและหลักการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
งานบริหารหลักสูตร
การจัดเนื้อหาวิชาการให้ทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของสังคม
การจัดดำเนินงานเกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การวางแผนเกี่ยวกับงานวิชาการ
การเพิ่มวิชาใหม่ๆ เพื่อให้เกิดผลอย่างแท้จริงกับผู้เรียน
การจัดบริการการสอน การจัดตารางสอน การจัดชั้นเรียน
การปรับปรุงหลักสูตร
มาตรฐานการดำเนินการ
ด้านการวิจัย
ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม
ด้านการผลิตบัณฑิต
ด้านความรู้
ด้านทักษะเชาวน์ปัญญา
ด้านคุณธรรม
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ด้านทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร
ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ขอบข่ายงานและหลักการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักการบริหารงานวิชาการให้มีประสิทธิภาพ
หลักการความเป็นวิชาการที่มุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
หลักการประสิทธิภาพและประสิทธิผล
หลักการมีส่วนร่วม
หลักการเบื้องต้นของการบริหารการศึกษา
ส่งเสริมให้ชุมชนและสังคมมีส่วนร่วม
จัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
จัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ
ส่งเสริมให้มีการร่วมมือเป็นเครือข่าย
ยึดหลักให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรเป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางและสอดคล้องกับสภาพสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน
ความสำคัญของการบริหารงานวิชาการ
งานหลักของงานด้านวิชาการคือ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
นายภูมิ สารักษ์ 5943623327 สาขามัธยมศึกษา(วิทยาศาสตร์)