Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Electrolyte Imbalance (ความไม่สมดุลกรดด่าง (Acid-Base Imbalance)…
Electrolyte Imbalance
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ fluid imbalance
ภาวะขาดน้ำ (dehydration/hypovolemia/fluid deficit)
อาการ
dry mouth, fatique, rapid breathing, rapid heartbeat, BP↓
การรักษา
แก้ไขสาเหตุที่ทำให้ขาดน้ำ ให้สารน้ำทดแทน ปาก/iv
สาเหตุ
เกิดจากการสูญเสียน้ำและอิเล็กโทรไลต์จากทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน การสูญเสียปัสสาวะเป็นจำนวนมาก เช่น ได้รับยาขับปัสสาวะ โรคไต โรคเบาหวาน (ภาวะ ketosis) โรคเบาจืด
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา จิบ ORS บ่อยๆ
ภาวะน้ำเกินและภาวะพิษของน้ำ (water excess/water intoxication)
การรักษา
รักษาตามสาเหตุ เช่นจาก:<3:ล้มเหลว ให้ยาขับปัสสาวะ จำกัดน้ำ โซเดียม จากการขาดโปรตีนก็ให้กินโปรตีนมากขึ้น
การพยาบาล
ดูแลให้ออกซิเจนเพียงพอ
อาการ
pulmonary edema, perphera edema, BP↑ , RR↑, หายใจลำบาก คลื่นไส้ อาเจียน ซึม ชัก หมดสติ
สาเหตุ
ได้รับน้ำมากเกินไป/ไตสูญเสีหน้าที่
ความไม่สมดุลกรดด่าง (Acid-Base Imbalance)
metabolic acidosis
pH<7.35 ร่วมกับไบคาร์บอเนตในเลือด< 22 mEq/L
การรักษา
ปรับระดับกรด (H+) ในเลือดให้ลดลง
การพยาบาล
ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต, โซเดียมแลคเตต หรือโซเดียมซิเตรตเพื่อให้ pH ในเลือดเพิ่มขึ้นเป็น 7.2 ซึ่งระดับนี้ทำให้หัวใจทำงานดีขึ้น
อาการ
หายใจหอบลึก (Kussmaul breathing) เมื่ออาการรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการซึม ไม่รู้สึกตัว เขียว
สาเหตุ
มีการคั่งและสะสมของกรดในร่างกาย เช่น diabetic acidosis, lactic acidosis มีการเผาผลาญโปรตีน และไขมันที่สะสมใน ร่างกาย มีการสูญเสียด่างหรือไบคาร์บอเนตออกจากร่างกาย เช่นอุจจาระร่วง
metabolic alkalosis
pH>7.45 ร่วมกับไบคาร์บอเนตในเลือด>26 mEq/L
อาการ
อ่อนเพลีย muscle cramp กล้ามเนื้อไม่มีแรง ปัสสาวะบ่อย ชาตามมือและเท้า
การรักษา
เพิ่มระดับกรด (H+) ในเลือดให้สูงขึ้น
สาเหตุ
เสียกรดเกลือทางกระเพาะอาหาร จากการอาเจียน การดูดน้ำย่อยจากกระเพาะ อาหาร (nasogastric suction) เสียกรดทางไตเช่น hyper aldosteronism, Cushing syndrome จากการใช้ยา เช่น diuretics, corticosteroid มีด่างเพิ่มขึ้นโดยได้รับจากภายนอก เช่น โซเดียมไบคาร์บอเนต จากการกินหรือทางหลอดเลือดดำ ได้รับ lactate, citrate จากการถ่ายเลือด
การพยาบาล
ให้ NSS ทางหลอดเลือดดำ ให้โปตัสเซียมคลอไรด์ ลดการขับH+ และขบั HCO3- ออกทางปัสสาวะ เพิ่มขึ้น และให้ sparing diuretic เช่น aldosterone antagonist ถ้ารักษาแล้วไม่ได้ผลต้องหา peritoneal dialysis ด้วยน้ำยาที่มี acetate ต่ำ
respiratory acidosis
PaCO2 เพิ่มขึ้นมากกว่า 45 มม.ปรอทและมีค่า pH ต่ำ
สาเหตุ
การระบายอากาศในถุงลมน้อยกว่าความต้องการทางเมตาบอลิสมของร่างกาย เกิดการคั่งของแรงดันคาร์บอนไดออกไซด์ในหลอดเลือดแดง ศูนย์ควบคุมการหายใจในเมดุลลาถูกกด จากการได้รับยาสลบ มอร์ฟีน ยาแก้ปวดบาร์บิตูเรต alc เกินขนาด โรคปอดเช่นปอดบวม หืด มีความบกพร่องในระบบประสาทและกล้ามเนื้อเช่น โรคโปลิโอ มีความผิดปกติในโครงสร้างของกระดูกทรวงอก
อาการ
ปวดศรีษะ ตามัว กระวนกระวาย มือสั่น ง่วงซึม ความดันของ CSF สูง
การรักษา
ให้ออกซิเจน
การพยาบาล
ให้ออกซิเจนสำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะ chronic respiratory acidosis และมี ค่า pO2 นอ้ยกว่า 45-50 มม.ปรอท ให้ออกซิเจนขนาดต่ำๆ ช่วยการหายใจ ทำให้ทางเดินหายใจสะดวก ไม่มีเสมหะอุดตัน ให้อาหารและน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อแก้ภาวะขาดน้ำและ Ketosis ให้ด่าง โดยใช้glucose-bicarbonate infusion
respiratory alkalosis
ค่า PaCO2 น้อยกว่า 35 มม.ปรอท pH ในเลือดแดงเพิ่มขึ้น
สาเหตุ
การระบายอากาศเข้าออกในปอดเพิ่มขึ้นเกินความต้องการ ศูนย์ควบคุมการหายใจในระบบประสาทกลางถูกกะตุ้น เช่น ความวิตกกังวล โรคของระบบประสาท เช่น สมองอักเสบ เนื้องอกในสมอง พยาธิสภาพที่ peripheral chemoreceptor โดยมีการกระตุ้นศูนย์หายใจ Chemo receptor Primary hyperventilation ไม่ทราบสาเหตุ การใช้ เครื่องช่วยหายใจที่ปรับไม่เหมาะสม ทำให้หายใจเร็ว (hyperventilation)
อาการ
วิงเวียน สับสย หน้ามืด ชา เป็นลม และอาจเกิการชัก จากการขาดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง คลื่นไส้ อาเจียนจากสมองขาด เลือด หัวใจเต้นผิดจังหวะเกิดในกรณีที่เป็นรุนแรง ตรวจรรีเฟล็กซ์ จะพบว่ามี รีเฟล็กซ์ไวกว่าปกติ Chrostek’s sign และ Trousseau’s sign ให้ผลบวก
การรักษา
ควบคุมการหายใจให้ลึกเพื่อเพิ่มระดับ PaCO2
การพยาบาล
อาจไม่จำเป็นหากผู้ป่วยมีอาการไม่มากและ pH น้อยกว่า 7.50 อาจใช้การหายใจในถุงกระดาษเพื่อช่วยควบคุมการหายใจลึกและเร็วผิดปกติหากผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจอยู่ให้แก้ไขโดยการปรับลดอัตราเร็วต่อนาที
ภาวะไม่สมดุลของโซเดียม (sodium imbalan
Normal range 135-145 mEq/L
ภาวะโซเดียมสูง (Hypernatremia)
Na>145 mEq/L
อาการ
กระหายน้ำ ลิ้นแห้งและบวม ผิวหนังแดง ปัสสาวะออกน้อย ซึม ชัก หมดสติ
การรักษา
เพิ่มความเข้มข้นของสารน้ำและปริมาณน้ำกลับสู่ภาวะปกติ (ให้ hypotonic solution)
สาเหตุ
เกิดจากการสูญเสียน้ำเช่น ปัสสาวะมากจากโรค เบาหวาน เบาจืด หรือกินอาหารที่มีโซเดียมใากเกินไป
การพยาบาล
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ ติดตามการเปลี่ยนแปลงของ Na บันทึก I/O ทุก 8 hr ชั่งน้ำหนักทุกวัน ประเมินระดับความรู้สึกตัวทุก 2 hr
ภาวะโซเดียมต่้า (Hyponatremia)
Na<135 mEq/L
การรักษา
รักษาสาเหตุและแก้ไขภาวะ Na ต่ำตมความรุนแรง (ให้ hypertonic solution)
การพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยมีภาวะโวเดียมในเลือดสมดุล กระตุ้นให้รับประทานอาหารที่มีโซเดียมสูง
อาการ
ความดันในสมอง↑ คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร สับสน ซึม ชัก หมดสติ ตระคริว ท้องเดิน
สาเหตุ
ได้รับน้ำมากเกินไป/มีการสูญเสีย Na เช่น การดื่มน้ำมาก โรคหัวใจล้มเหลว โรคตับ โรค nephrotic syndrome
ภาวะไม่สมดุลของโปตัสเซียม (patassium imbalance)
ภาวะโปตัสเซียมในเลือดต่้า (Hypokalemia)
K<3.5 mEq/L
อาการ
CO↓ BP↓เมื่อเปลี่ยนท่า Pulse เบา แขนขาอ่อนแรง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ปัสสาวะมาก กระหายน้ำ
การรักษา
ทดแทน K และแก้ไขสาเหตุ
สาเหตุ
สูญเสีย K ออกจากร่างกาย เช่น ท้องเดิน การรับประทานยาระบาย
การพยาบาล
ให้ Elixir KCL แล้วดื่มน้ำตามเนื่องจากระคายเคืองทางเดินอาหาร ดูแลให้ได้รับ digitalis และยาขับปัสสาวะ แล้วประเมินการทำงานของ:<3:
ภาวะโปตัสเซียมในเลือดสูง (Hyperkalemia)
K>5.5 mEq/L
สาเหตุ
ได้รับ K มากเกินกว่าที่ร่างกายจะขับออก
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง มีอาการชาที่หน้า ส้นเท้าและมือ
การรักษา
ลดระดับ K ให้เร็วที่สุด ให้ยาขับปัสสาวะชนิดที่กำจัด K รักษาสาเหตุที่ทำให้ K สูง
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยา Kayexalate โดยระวังภาวะโซเดียมสูงและภาวะ:<3:ล้มเหลว ดูแลให้ได้รับ insulin และ glucose ตามแผนการักษา แนะนำให้หลีกเลี่ยงอาหารที่ี K เช่น กล้วย ส้ม กาแฟ
ภาวะไม่สมดุลของแคลเซียม (calcium imbalance)
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ (Hypocalcaemia)
Ca<9 มก/ดล
การรักษา
แก้ไขระดับ Ca ในเลือดให้เร็วที่สุดในรายที่เกิดเฉียบพลันแก้ไขโดยให้ calcium gluconate/calcium chloride ในรายเรื้อรังจำเป็นต้องให้ Vit D เพื่อช่วยให้มีการดูดซึมดีขึ้นรับประทานก่อนอาหาร 30 นาที
อาการ
หากมีระดับ Ca ในเลือดต่ำแบบเรื้อรังมักไม่ทราบสาเหตุจนกว่าจะมีปัญหากระดูกพรุน ส่วนภาวะ Ca ในเลือดต่ำแบบเฉียบพลันมักเกิดขึ้นหลังผ่าตัดหรือโรคตับอ่อนอักเสบจะมีอาการหัวใจเต้นเร็วไม่สม่ำเสมอ ระดับความรู้สึกเปลี่ยนแปลง รีเฟล็กซ์ไว ท้องเดิน เป็นตะคริว
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วยเพื่อระบุให้ได้ทันว่าผู้ป่วยมีภาวะแคลเซียมในเลือดต่้าหรือสูง ช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อแก้ไขภาวะความไม่สมดุลของแคลเซียมโดย ผู้ป่วยที่มีภาวะแคลเซียมในเลือด่ำตรวจการทำงานของหัวใจเสมอในกรณีที่ระดับแคลเซียมในเลือด ต่ำมาก และดูแลให้ได้รับแคลเซียมเสริม เช่น แคลเซียมกลูโคเนต หรือยาเสริมแคลเซียม หรือให้ได้รับ อาหารที่มีแคลเซียมสูง
สาเหตุ
ร่างกายได้รับแคลเซียมจากอาหารน้อย มีภาวะขาดสารอาหาร ขาดวิตามินเอ หรือ ขาดวิตามินดีทำให้ ลำไส้ดูดซึมแคลเซียมได้น้อยลง มีฮอร์โมนพาราธัยรอยด์ต่ำ รับประทานอาหารที่มี phytate หรือ oxalate ซึ่งขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง (Hypercalcemia)
Ca>11 มก/ดล
การรักษา
ลดละดับ Ca ในเลือด ให้ดื่มน้ำมากๆเพื่อขับ Ca ออกทางไต ให้ iv ร่วมกับให้ยาขับปัสสาวะเพื่อลดการดูดซึมของ Ca กลับ ทำให้ขับ Ca ออกได้มากขึ้น
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วยเพื่อระบุให้ได้ทันว่าผู้ป่วยมีภาวะแคลเซียมในเลือดต่้าหรือสูง ช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อแก้ไขภาวะความไม่สมดุลของแคลเซียมโดย ผู้ป่วยที่มีภาวะแคลเซียมในเลือดสูง ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ เพื่อขับแคลเซียมออก หรือฮอร์โมน แคลซิโตนิน เพื่อลดระดับแคลเซียมในเลือดตามแผนการรักษา และ/หรือกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูสภาพโดยเร็ว เพื่อลดการสลายแคลเซียมออกจากกระดูกจากการนอนป่วยเป็นเวลานาน
อาการ
HR↑ BP↑ ความจำเสื่อม พูดไม่เป็นคำ คลื่นไส้ อาเจียน ปัสสาวะมาก กระหายน้ำ ท้องผูกรุนแรง สับสน ซึม หมดสติ
สาเหตุ
ได้รับแคลเซียมมากเกินไป ได้รับวิตามินเอ หรือวิตามินดีมากเกินไป มีฮอร์โมนพาราธัยรอยด์มากเกินไป ต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ มะเร็งกระดูก นอนบนเตียงตลอดเวลาขาดการลงน้ำหนักที่กระดูก
ภาวะไม่สมดุลของแมกนีเซียม (magnesium imbalance)
ภาวะแมกนีเซียมต่้า (Hypomagnesemia)
Mg<1.5 mEq/L
สาเหตุ
ได้รับสารอาหารที่มีแมกนีเซียมน้อยไปหรือมีการสูญเสียแมกนีเซียมทางไต มากเกิน การได้รับยาบางชนิดเช่น ยาขับปัสสาวะ ยาในกลุ่ม aminoglycoside, amphotericin B, Digitalis
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนแรง เบื่ออาหารอ่อนเพลีย สับสน เวียนศีรษะอย่างรุนแรง เหน็บชา เป็นตะคริว กล้ามเนื้ออ่อนแรง เกร็ง สั่น กระตุก หรือหดเกร็ง จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
การรักษา
เพิ่มละดับ Mg ในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
การพยาบาล
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา ประเมินการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจ ประเมินการหายใจ ประเมินอาการทางระบบประสาท ติดตามผล lab
ภาวะแมกนีเซียมเกิน (Hypermagnesemia)
Mg>2.5 mEq/L
อาการ
BP↓, Absent reflexs, Muscles weakness, Bradycardia
การรักษา
ลดละดับ Mg ในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
สาเหตุ
Renal failure, Excessive intake
การพยาบาล
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา ประเมินการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจ ประเมินการหายใจ ประเมินอาการทางระบบประสาท ติดตามผล lab
นางสาวจตุรภัทร จันทิมาตร 603060233-7 sec 4