Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารงานวิชาการ (ขอบข่ายงานและหลักการบริหารงานวิชาการ…
การบริหารงานวิชาการ
ความหมายการบริหารงานวิชาการ
กระบวนการดำเนินงาน และการจัดกิจกรรมทุกอย่างที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้การเรียนการสอนดำเนินไปอย่างราบรื่น เน้นการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
ความสำคัญของการบริหารงานวิชาการ
งานวิชาการส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายของสถานศึกษา
ขอบข่ายงานและหลักการบริหารงานวิชาการ
ขอบข่ายงานและหลักการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน
และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นที่ 1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลาง และข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก ครอบครัว ชุมชน ฯลฯ
ขั้นที่ 2 จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นที่ 3 ตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา
องค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา
สารสนเทศที่เกี่ยวกับผู้เรียน
สารสนเทศเพื่อการบริหารงานอาชีพ
สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
การเรียนการสอน
องค์ประกอบของการเรียนการสอน
กระบวนการเรียนรู้
วิธีการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
สภาพผู้เรียน
รูปแบบการเรียนการสอน
การสอนที่มีประสิทธิภาพ
การสอนที่ยึดหลักความเสมอภาค
การสอนแบบมีส่วนร่วม
การวัดและประเมินผล
ความสำคัญของการวัดและประเมินผล
ด้านการจัดการเรียนรู้
ด้านการแนะแนว
ด้านการบริหาร
ด้านการวิจัย
การประกันคุณภาพทางการศึกษา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
หลักการ
เป้าหมายกิจกรรมชัดเจน เป็นรูปธรรม ครอบคลุมผู้เรียนทุกคน
ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองรอบด้านตามความสนใจ ความถนัด
กิจกรรมสามารถส่งเสริมจิตสำนึกในการทำประโยชน์ต่อสังคม
เปิดโอกาสให้บุคคลที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
ขอบข่าย
ส่งเสริมการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ในลักษณะกระบวนการเชิงบูรณาการ
ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน เน้นการเห็นคุณค่าของความรู้ อาชีพ
ส่งเสริมจิดสำนึกการทำประโยชน์ต่อสังคมในลักษณะต่าง ๆ
ฝึกการทำงานและการให้บริการด้านต่าง ๆ
ภาระหน้าที่และขอบข่ายงาน 17 อย่าง
การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา
การจัดทำระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา
การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา
การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น
การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
การแนะแนว
การนิเทศการศึกษา
การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้
การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
การวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน
การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา
การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา
การวางแผนงานด้านวิชาการ
การพัฒนาหรือการดำเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น
หลักการที่สำคัญในการบริหารวิชาการ
หลักการความเป็นวิชาการที่มุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
หลักการมีส่วนร่วม
หลักการประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ขอบข่ายงานและหลักการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาระดับการอาชีวศึกษา
หลักการจัดการงานด้านวิชาการของสถาบันอาชีวศึกษา
การมีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในทางปฏิบัติ
ผู้เรียนเรียนได้ตามความสนใจและความถนัดได้ต่อเนื่องถึงระดับปริญญาตรี
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการกำหนดนโยบายการผลิตและพัฒนากำลังคน
การศึกษาที่มีความยืดหยุ่น มีระบบเทียบประสบการณ์การทำงานของบุคคล
การมีระบบจูงใจให้สถานประกอบการมีส่วนร่วม
6.การระดมทรัพยากนจากรัฐและเอกชน
7.การมีระบบการพัฒนาครูและอาจารย์อย่างต่อเนื่อง
ขอบข่ายงานและหลักการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาระดับการอุดมศึกษา
หลักสูตรและระเบียบพิธีการของการเรียนการสอน
การปรับปรุงหลักสูตร
การวางแผนเกี่ยวกับงานวิชาการ
การจัดเนื้อหาวิชาการให้ทันสมัย
การจัดดำเนินงานเกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเพิ่มวิชาเรียนใหม่ ๆ
การจัดบริการการสอน การจัดตารางสอน การจัดชั้นเรียน
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต
ด้านคุณธรรม
ด้านความรู้
ด้านทักษะเชาวน์ปัญญา
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ด้านทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร
การพัฒนางานวิชาการผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ
จัดให้มีการศึกษาบทเรียนร่วมกัน (Lesson Study)
ขั้นวางแผน
ขั้นปฏิบัติการสอนและสังเกต
ระยะสะท้อนผล