Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
AF with CHF (พยาธิสภาพ (โรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง(Aortic Aneurysm)…
AF with CHF
พยาธิสภาพ
-
-
ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว (atrial fibrillation หรือ AF หรือ A-Fib) คือ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดหนึ่ง
ตามทฤษฎี
ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว คือภาวะที่มีการกระตุ้นของหัวใจห้องบนแบบกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ ทำให้การบีบตัวของหัวใจห้องบนเสียไป ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็วและไม่สม่ำเสมอ โดยผลแทรกซ้อนของภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว คือ ทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดออกไปได้ลดลง ซึ่งหากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสมจะนำไปสู่ภาวะหัวใจวายในที่สุด และการทำให้เลือดหมุนวนตกค้างในหัวใจห้องบนสามารถก่อให้เกิดลิ่มเลือดหลุดไปอุดตันหลอดเลือดสมองได้สูงกว่าคนทั่วไปถึง 5 เท่าซึ่งนำไปสู่การเสียชีวิต
สาเหตุ
เกิดจากหัวใจ เช่น โรคของลิ้นหัวใจ หัวใจล่างซ้ายโต โรคหลอดเลือดหัวใจ เยื่อบุหัวใจอักเสบ(pericarditis)
เกิดจากสาเหตุที่ไม่ใช่หัวใจ เช่น ปอดอักเสบ การผ่าตัด การไม่สมดุลของเกลือแร่ hyperthyroidism, pulmonary embolism การได้รับสารจำพวก cocaine and caffeine, acute alcohol intoxication, septic or febrile illness สูงอายุ กรรมพันธุ์ ภาวะเครียด อ้วน หรือไม่ทราบ
-
-
-
-
-
โรคหืด (asthma)
ตามทฤษฎี
โรคหอบหืด (asthma) เป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุหลอดลม ร่วมกับภาวะผิดปกติของหลอดลมที่ไวต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ มากกว่าปกติ เมื่อผู้ป่วยสัมผัสกับสิ่งกระตุ้น กล้ามเนื้อบริเวณหลอดลมจะเกิดการหดเกร็ง ผนังหลอดลมบวมหนาขึ้นและสร้างสารคัดหลั่งหรือเสมหะมากขึ้น ทำให้หลอดลมตีบแคบลง ผู้ป่วยจึงหายใจลำบาก มีอาการเหนื่อยหอบ สมรรถภาพการทำงานของปอดลดลง ในรายที่อาการรุนแรงมากอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
โรคหอบหืดเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด แต่สามารถควบคุมไม่ให้อาการกำเริบได้
-
-
-
-
ข้อมูลส่วนตัว
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
-
ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว (atrial fibrillation หรือ AF หรือ A-Fib) คือ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดหนึ่ง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ยาของผู้ป่วย
-
-
ยาเกี่ยวกับโรคประจำตัว
Fenafex 60mg TAB. 1x1 pc
ผลข้างเคียง
ยานี้อาจก่อให้เกิดอาการอันไม่พึงประสงค์ ได้แก่ อาการข้างเคียงต่อระบบประสาท เช่น ปวดศีรษะ มึนงง ง่วงซึม อ่อนล้า นอนไม่หลับ อาการข้างเคียงต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น อาการใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว อาการข้างเคียงต่อระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาหารไม่ย่อย ท้องเสีย อาการข้างเคียงต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน ไซนัสอักเสบ อาการข้างเคียงต่อระบบอวัยวะสืบพันธุ์ เช่น อาการปัสสาวะคั่ง อาการข้างเคียงต่อระบบผิวหนัง เช่น เกิดผื่น ผื่นลมพิษ อาการข้างเคียงต่อระบบภูมิคุ้มกัน เช่น เกิดการแพ้ การติดเชื้อไวรัส (เช่นเชื้อ Influenza virus) อาการข้างเคียงอื่น เช่น ปวดหลัง ประจำเดือนไม่มา
รักษาอาการ
บรรเทาอาการที่เกี่ยวข้องกับอาการคัดจมูกตามฤดูกาล และใช้ในการรักษาผื่นลมพิษเรื้อรัง ยาไม่ได้มีฤทธิ์ในการรักษาโดยตรงแต่ป้องกันการเกิดอาการคัดจมูก และการเกิดลมพิษโดยไม่ทราบสาเหตุ และช่วยลดความรุนแรงของอาการที่เกี่ยวข้องกับภาวะเหล่านี้ได้ สามารถช่วยบรรเทาอาการน้ำมูกไหล คันตา คันผิวหนัง
-
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2 เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากพยาธิสภาพของโรค abdominal aortic aneurysm(AAA)
-
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากพยาธิสภาพของโรคabdominal aortic aneurysm(AAA) เช่น เลือดออกในช่องท้อง ถ้าเกิดในช่องท้องจะมีอาการปวดรุนแรงที่ท้องน้อยและหลังและกดเจ็บ ถ้าเกิดในช่องอกจะปวดรุนแรงที่หลังด้านบนและแผ่ลงด้านล่าง ภาวะช็อก เป็นต้น
ข้อมูลสนับสนุน
-
OD
-
-
-
-
มีการเจ็บป่วยในอดีต คือโรคเบาหวาน ,โรคความดันโลหิตสูง ,โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ส่วนท้องโป่งพอง ,โรคหลอดเลือดหัวใจ ,โรคไขมันในเลือดสูง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ,โรคหืด
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
3.ดูแลอาการปวดท้อง ว่าเป็นอาการปวดท้องว่าเป็นจากพยาธิสภาพของโรค หรือปวดเนื่องจากอยากเบ่งถ่ายอุจจาระ ดูแลตามแผนการรักษา
4.เมื่อผู้ป่วยไม่ขับถ่ายหลังให้ยา 2-3 วันให้สังเกตอาการหรืออาจจะสวนอุจจาระให้ผู้ป่วย ห้ามให้ผู้ป่วยเบ่งงอุจจาระ
5.ห้ามกดท้องของผู้ป่วย เพราะอาจจะทำให้เส้นเลือดในช่องท้องแตก อาจทำให้เกิดภาวะช็อกและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้
-
- ตามผลเอ็กซเรย์ขนาดของหลอดเลือดแดงที่โป่งพองบริเวณช่องท้อง
9.แนะนำญาติผู้ป่วยเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรค อาการแทรกซ้อนและข้อควรระวัง เกี่ยวกับโรคนี้ เพื่อจะได้สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและไม่เกิดภวะแทรกซ้อน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-