Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม (ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม (5…
องค์ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมแปลภาษา
1) คอมไพเลอร์ (Compiler)
ภายหลังการแปลไม่มีข้อผิดพลาดผู้ใช้สามารถสั่งประมวลผลโปรแกรมและสามารถเก็บโปรแกรมที่แปลภาษาเครื่องไว้ใช้งานต่อไปได้อีก
ถ้ามีข้อผิดพลาดเครื่องจะพิมพ์รหัสหรือข้อผิดพลาดมาด้วย
2.อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
จะทำการแปลและประมวลผลทีละคำสั่ง
1 ภาษาเครื่อง (Machine Language)
ภาษานี้ประกอบด้วยตัวเลขล้วน ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทันที
2.ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language)
การใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็นรหัสแทนการทำงาน
3.ภาษาระดับสูง (High Level Language)
เป็นภาษาที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม
ลักษณะของคำสั่งจะประกอบด้วยคำต่าง ๆ ในภาษาอังกฤษ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
1.ส่วนหัวของโปรแกรม
2.ส่วนประกาศ
3.Main Function
ชนิดข้อมูล
แบบไม่มีค่า
แบบจำนวนเต็ม
แบบทศนิยม
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
1 ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา (Analysis the problem)
1.1การระบุข้อมูลเข้า (Input)
ต้องรู้ว่ามีข้อมูลอะไรบ้างที่จะต้องป้อนเข้าสู่คอมพิวเตอร์พร้อมกับ
โปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมท าการประมวลผลและออกผลลัพธ
1.2. การระบุข้อมูลออก (Output)
จะพิจารณาว่างานที่ทำามีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์อะไร ต้องการ
ผลลัพธ์ที่มีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร โดยจะต้องคำนึงถึงผู้ใช้เป็นหลักในการออกแบบผลลัพธ์
1.3. กำหนดวิธีการประมวลผล (Process)
ต้องรู้วิธีการประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
2 ขั้นตอนการออกแบบโปรแกรม (Design a Program)
เป็นการออกแบบการทำงานของโปรแกรม หรือขั้นตอนในการ
แก้ปัญหา ซึ่งผู้ออกแบบสามารถเลือกใช้เครื่องมือมาช่วยในการออกแบบได้โดยเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบ
โปรแกรมมีอยู่หลายอย่าง
วิธีการซึ่งเป็นที่นิยมสำหรับใช้ในการออกแบบโปรแกรม
อัลกอริทึม (Algorithm)
หลักการเขียนอัลกอริทึม
เรียงลำดับความสำคัญของงานที่จะทำ
เขียนออกมาในลักษณะภาษาเขียนสามารถเขาใจง่าย
มีความละเอียดของโครงสร้างพอสมควร
ผังงาน (Flowchart)
คือ แผนภาพแสดงการทำงานของโปรแกรม โดยใช้สัญลักษณ์แสดงขั้นตอนและลักษณะการทำงานแบบต่างๆ สัญลักษณ์เหล่านี้จะถูกเชื่อมโยงด้วยลูกศรเพื่อแสดงลำดับการ
รหัสจำลอง (Pseudo-code)
การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
1.กำหนดค่าและคำนวน
2.อ่าน/รับข้อมูล
3.แสดงผลข้อมูล
4.กำหนดเงื่อนไข
5.ทำงานวนซ้ำ (Loop)
3 ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม (Coding)
4 ขั้นตอนการตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม (Testing and Debugging)
4.1 ตรวจสอบด้วยตนเอง (Self Checking)
4.2 ตรวจสอบด้วยการแปลภาษา (Translating)
5 ขั้นตอนการทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม (Testing and Validating)
5.1 การใส่ข้อมูลที่ถูกต้อง (Valid Case)
5.2 การใช้ขอบเขตและความถูกต้องของข้อมูลเป็นการทดสอบ
5.3 การใช้ความสมเหตุสมผล
5.4 ข้อมูลที่เป็นตัวเลขและตัวอักษร
5.5 ข้อมูลเป็นไปตามข้อก้าหนด
6 ขั้นตอนการท้าเอกสารประกอบโปรแกรม (Documentation)
คือ การอธิบายรายละเอียดของโปรแกรมว่า จุดประสงค์ของ
โปรแกรมคืออะไร สามารถทำงานอะไรได้บ้าง และมีขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมเป็นอย่างไร
6.1 เอกสารประกอบโปรแกรมส้าหรับผู้ใช้ (User Documentation)
จะเหมาะสำหรับผู้ใช้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องกับการพัฒนาโปรแกรม แต่เป็นผู้ที่ใช้งานโปรแกรมอย่างเดียว
จะเน้นการอธิบายเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมเป็นหลัก
6.2 เอกสารประกอบโปรแกรมส้าหรับผู้เขียนโปรแกรม (Technical Documentation)
ส่วนที่เป็นคำอธิบายหรือหมายเหตุในโปรแกรม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คอมเมนท์ (Comment)
ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเขียนแทรกอยู่ในโปรแกรม อธิบายการทำงานของโปรแกรมเป็นส่วน ๆ
ส่วนอธิบายด้านเทคนิค ซึ่งส่วนนี้มักจะทำเป็นเอกสารแยกต่างหากจากโปรแกรม จะอธิบายในรายละเอียดที่มากขึ้น
7 ขั้นตอนการบ้ารุงรักษาโปรแกรม (Program Maintenance)
แนวคิดการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
แนวคิดเชิงวัตถุตั้งอยู่บนพื่นฐานการแจกแจงรายละเอียดของปัญหาในการเขียนโปรแกรมเพื่อให้เป็นไปตามหลักการเชิงวัตถุนั้นต้องพยายามมองรูปแบบวัตถุให้ออก การทำความเข้าใจถึงหลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุต้องอาศัยจินตนาการพอสมควร
การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง
1.โครงสร้างแบบเป็นลำดับขั้นตอน
2.โครงสร้างแบบมีทางเลือกในการตัดสินใจเลือกทางใดทางหนึ่ง