Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1 การติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจร่วมกับภาวะหัวใจล้มเหลว
…
กรณีศึกษาที่ 1 การติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจร่วมกับภาวะหัวใจล้มเหลว
INFECTIVE ENDOCARDITIS WITH HEART FAILURE
-
-
พยาธิสรีรวิทยา
การอักเสบจากการติดเชื้อของลิ้นหัวใจหรือเนื้อเยื่อหัวใจข้างเคียงเกิดจากการติดเชื้อstreptococcus
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการติดเชื้อที่เป็นหัวใจคือการเกิดภาวะหมุนเวียนของเลือดเฉพาะที่ผ่านบริเวณที่มีความแตกต่างของความดันอย่างมากทำให้เนื้อเยื่อหัวใจชั้นในบริเวณนั้นถูกทำลาย ขรุขระ จากแรงดันการไหลเวียนของเลือดพุ่งชนมีเกล็ดเลือดและไฟบริน มารวมตัวกันเป็นก้อนเมื่อเกิดการกระแทกก็จะมาเกาะรวมและแบ่งตัวมากขึ้นทำให้มีเชื้อแบคทีเรียหลุดลอยในกระแสเลือดอยู่ตลอดเวลา ก่อนเรียกว่า vegetation ในผู้ป่วยจึงตรวจพบก้อน vegetation และก็นี้มีโอกาสหลุดลอยไปตามเส้นเลือดและไปอุดตันอวัยวะต่างๆได้สูงได้แก่ปอดไตม้ามและสมองขาดเลือดถ้าก้อนขนาดใหญ่ขึ้นมีผลโดยโดยตรง ต่อหัวใจหรือลิ้นหัวใจทำให้ลิ้นหัวใจรั่วตรวจพบเสียงฟู่ของหัวใจและถ้าก้อนหลุดไปอุดตันที่สมองทำให้เกิดอาการทางระบบประสาทเช่นแขนขาอ่อนแรงซีกเดียวพูดไม่ได้ไม่ทำตามคำสั่ง
การรักษา
2.การรักษาโดยการผ่าตัด คือ การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ (Valve Replacement)
ซึ่งเป็นการรักษาที่ไม่ยากนักมีการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจซึ่งมีอยู่ 2 ประเภท
- ลิ้นหัวใจที่เป็นโลหะอายุการใช้งานมีความทนทานดีแต่การเปลี่ยนลิ้นหัวใจชนิดนี้
ต้องกินยาละลายลิ่มเลือดเพื่อป้องกันเลือดแข็งตัวไปตลอดชีวิต
- ลิ้นหัวใจที่ทำจากเยื่อหุ้มหัวใจหมูหรือวัวจะทำให้เกิดลิ่มเลือดต่ำมาก
เพราะไม่ใช่โลหะไม่จำเป็นต้องกินยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด
1.ให้ยาปฏิชีวนะและให้ยาลดไข้ ผู้ป่วยจะได้รับยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจเลือด,ตรวจสอบการติดเชื้อ
- การซ่อมลิ้นหัวใจ (Vale Repair) ทำได้หลายกรณีดังนี้
- กรณีที่เป็นลิ้นหัวใจรูมาติก (Rheumatic) เกิดจากหินปูนไปเกาะตัวที่ลิ้นหัวใจทำให้เป็นพังพืดจะทำการซ่อมลิ้นหัวใจ
โดยการลอกหินปูนที่จับตัวออกและหาเนื้อเยื่ออื่นมาซ่อมแทนเพื่อให้ลิ้นหัวใจทำงานได้ใกล้เคียงปกติหรือเหมือนเดิม
- กรณีที่เป็นลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย (Degenerative) เช่นเอ็นยึดลิ้นหัวใจที่ยึดหรือขาดลิ้นหัวใจเองย้วยการซ่อมสามารถทำโดยการซ่อมลิ้นหัวใจให้กระชับได้ใกล้เคียงปกติ
-
การพยาบาล
- ให้ยาให้ยาปฏิชีวนะ ceftriazone 2 gm. ทางหลอดเลือดดำ วันละ 1 ครั้ง
-
- ติดตามผล EKG สังเกตหลอดเลือดที่เขาคอโป่ง
-
-
-
-
10.จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดีไม่ร้อนเกินไป ดูแลให้พักผ่อนบนเตียง ดูแลกิจวัตรประจำวันบนเตียง จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ให้ผู้ป่วยพักผ่อน
- แนะนำให้นั่งก้มหน้าไปข้างหน้าอาการจะดีขึ้น
- ดูแลจิตใจเพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติให้โอกาสในการซักถามและให้มีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง
-
12.ให้คำแนะนำผู้ป่วยและญาติในการฝึกทักษะการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันการออกกำลังกายแบบ Activeresistive exercise และฝึกญาติทำ passive exercise ให้กับผู้ป่วย
13.สอนแนะนำญาติในการกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ออกกำลังแขน-ขาข้างที่อ่อนแรงอย่างสม่ำเสมอเพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อมีความตึงตัวที่ดีอย่างน้อยวันละ 3 ครั้ง
-