Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 47 ปีไม่มีโรคประจำตัวปฏิเสธการแพ้และอาหาร…
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 47 ปีไม่มีโรคประจำตัวปฏิเสธการแพ้และอาหาร มีประวัติการสูบบุหรี่มาประมาณ 20 ปีดื่มสุราบ้างเวลาออกงานสังสรรค์ ขณะนี้หยุดสูบบุหรี่มาประมาณ 6 เดือน ให้ประวัติว่า 8 เดือนก่อนมีอาการหูข้างซ้ายอีตลอดเวลาร่วมกับมีก้อนบริเวณลำคอข้างซ้ายขนาดประมาณ 0.5 × 1 เซนติเมตรคำไม่เจ็บแพทย์ให้ยากลับไปรับประทานที่บ้านและสังเกตอาการ 4 เดือนต่อมาผู้ป่วยเจ็บในช่องปากและคอมาก Pain score = 8 ก้อนที่คอโตมากขึ้นขนาด 5.3 × 2.1 × 4.2 เซนติเมตรน้ำหนักลดลง 10 กิโลกรัมแพทย์วินิจฉัยเพิ่มโดยการทำBiopsy ผลเป็นNon-Keratinized carcinoma (Type 2a) มี cervical lympnode at left neck ขนาด5×6 cm
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
-
3.ผู้ป่วยมีโอกาสได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
เนื่องจากมีภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบและเบื่ออาหารจากการสูญเสียการรับรู้รสชาด
กิจกรรมการพยาบาล
1.ซักประวัติชนิด ปริมาณ อาหารที่งดเว้นและประเมินความสามารถการรับประทานอาหารใน
แต่ละวันของผู้ป่วยเพื่อวางแผนให้คำแนะนำด้านโภชนาการ
2.ประเมินการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัวจากร้อยละของน้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง
(Percentage weight loss) เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของภาวะโภชนาการ
-
4.แนะนำให้รับประทานอาหารทีทำเสร็จใหม่ๆ จัดอาหารด้วยภาชนะเล็กๆ โดยให้ผู้ป่วย
รับประทานครั้งละน้อยแต่บ่อยมากขึ้น
5.แนะนำให้ผู้ป่วยชั่งน้ำหนักอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้งเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัวของตนเองและจดบันทึกลงใน Diet diary เพื่อใช้ติดตามการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักของผู้ป่วย
-
การรักษา
รังสีรักษา
ส่วนใหญ่จะเป็นแบบexternal beam ให้6000-7000 cGy ครั้งละ200cGy 30-35ครั้ง
-Intensity -modulated radiotherapy (IMRT) เป็นการฉายรังสีด้วยวิธี3-dimension ใช้คอมพิวเตอร์ในการวาดและกำหนดขอบเขตของเนื้องอกบริเวณที่ต้องการฉายรังสี เพื่อให้ปริมาณรังสีเข้าถึงเนื้องอกได้มากกว่าเนื้อเยื่อปกติ
เคมีบำบัด
มะเร็งหลังโพรงจมูกตอบสนองต่อสารเคมีบำบัดได้ดีส่วนใหญ่ให้ร่วมกับรังสีรักษา หลังให้ครบแล้วพบว่าอัตราการหายใจจากโรคเพิ่มขึ้นถึงร้อยล่ะ80
การผ่าตัด
โดยทั่วไปแพทย์ไม่ค่อยใช้วิธีการรักษานี้ เพราะการผ่าตัดบริเวณหลังโพรงจมูกทำได้ยากและเสี่ยงต่อการทำให้เนื้อเยื่อ อวัยวะ หรือหลอดเลือดที่สำคัญในบริเวณที่ผ่าตัดได้รับผลกระทบไปด้วย รวมทั้งหลังการผ่าตัดผู้ป่วยอาจมีภาวะแทรกซ้อนตามมา เช่น มีเลือดออก ติดเชื้อ มีปัญหาในการพูดหรือการกลืน
ระยะของโรค
ระยะที่1 ระยะ early T1-2,N0,M0, (stage I,II)
-
ระยะที่2
ดูแลโดยการฉายรังสีอย่างเดียวในกรณีที่ไม่มีต่อมน้ำเหลืองและไม่กระจายเข้าparapharyngeal space ถ้ามีอย่างใดอย่างหนึ่งควรเพิ่มเคมีบำบัดพร้อมการฉายรังสี
ระยะที่3 และระยะที่4
ที่ไม่มีกระจายไปที่อื่นหรือระยะLocally advanced T any, N1-3 M0(stage III, IV) จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีและให้ยาเคมีบำบัด (CCRT)