Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute otitis Media (พยาธิสภาพ (ทฤษฎี
Acute Otitis Media / AOM…
Acute otitis Media
พยาธิสภาพ
ทฤษฎี
Acute Otitis Media / AOM เป็นการอักเสบเฉียบพลันเนื่องจากติดเชื้อของหูชั้นกลาง โดยเชื้อที่พบบ่อยได้แก่ Streptococcus pneumonia , Hemophilus influenzae และ Moraxella catarrhalis เป็นต้น
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 61 ปี มีโรคประจำตัวเป็นโรคเบาหวาน
1 เดือนก่อนมามีอาการหูข้างขวาอื้อ ได้ยินไม่ชัด ไปรักษาที่คลินิกใกล้บ้าน อาการไม่ดีขึ้น
1 สัปดาห์ก่อนมา มีไข้หวัด เจ็บคอ จะมีอาการปวดในรูหูหูอื้อ
5 ชั่วโมงก่อนมามีไข้สูงมากขึ้น และหนาวสั่น รับประทานยาไม่ดีขึ้น จึงมาโรงพยาบาล
ตรวจร่างกายไม่พบของเหลวไหลออกมาผิดปกติจากรูหู การตรวจดูหูโดยใช้เครื่องส่องหู
(otoscope) พบเยื่อแก้วหูโป่งออกและเป็นสีแดงเรื่อๆ กดเจ็บบริเวณกระดูกหลังหู
ซึ่งอาการดังกล่าวอาจเกิดจากความเสื่อมโทรมของร่างกายและภูมิต้านทานในร่างกายต่ำลงทำให้ติดเชื้อได้ง่ายขึ้นซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยติดเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus pneumonia จากอาการไข้หวัดธรรมดาทำให้เกิดการติดเชื้อจนเป็น Acute otitis media
สาเหตุ
ทฤษฎี
- เป็นหวัด คัดจมูก คออักเสบ :star:
- เพดานโหว่ทำให้กล้ามเนื้อ Tensor veli palatini ที่เปิด/ปิด
ท่อยูสเตเซียนทำงานไม่ดี
- เนื้องอกบริเวณช่องหลังโพรงจมูกอุดตัน
-
อาการ
ทฤษฎี
-
- ระยะที่2 Exudation จะมีซีรั่มออกจากหู หลอดเลือดขยายตัวเข้าไปในหูชั้นกลางและในโพรงอากาศมาสตอยด์ ผู้ป่วยจะปวดมากขึ้น ไข้สูงและการได้ยินเยื่อแก้วหูบวมแดงและโป่งลดลง
- ระยะที่3 Suppuration แรงดันในหูชั้นกลางมาจนเกิดการทะลุของเยื่อแก้วหูและมีเลือดปนต่อมาเป็นหนอง ปวดและไข้ ตรวจหูพบหนองไหลจากรูทะลุ
- ระยะที่4 Coalescence mastoidits เกิดจากเชื้อรุนแรงทำให้เกิดการอักเสบนานเกิน 2 สัปดาห์ กดเจ็บและมีหนองไหลตลอด
- ระยะที่5 Complication เกิดการแทรกซ้อนสามารถทำลายกระดูกและโครงสร้างรอบๆ
- ระยะที่6 Resolution หายจากการอักเสบ หนองหยุดไหล เยื่อแก้วหูมีการซ่อมแซมตนเอง ได้ยินปกติหรือเกือบปกติ
กรณีศึกษา
:star: หูอื้อ ได้ยินไม่ชัด ปวดในรูหู เยื่อแก้วหูโป่งและแดงเรื่อๆ ไม่มีของเหลวผิดปกติไหลออกจากหู กดเจ็บบริเวณกระดูกหลังหู
ความหมาย
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน เป็นอาการอักเสบของหูชั้นกลาง
ซึ่งอยู่ระหว่างชั้นนอกและชั้นใน สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย พบได้บ่อยในเด็ก
เนื่องจากภูมิต้านทานต่ำ โรคนี้มักเกิดร่วมกับการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
เช่น โรคเยื่อบุจมูกอักเสบเฉียบพลัน , โรคหวัด , โรคไซนัสอักเสบ เป็นต้น
-
การรักษา
ยา
- Antibiotic เพื่อกำจัดเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุ ควรรับประทานต่อเนื่อง 10 - 14 วัน
- รับประทานยาแก้แพ้ , ยาลดบวม , และพ่นจมูกด้วยยาหดหลอดเลือด
เพื่อทำให้เยื่อบุบริเวณรูปิดท่อยูสเตเซียนยุบ ทำให้สารจากการอักเสบหรือหนอง
ที่อยู่ในหูชั้นกลางระบายออกจากท่านี้ได้สะดวก
- รับประทานยาแก้ปวดหรือลดไข้เท่าที่ำเป็น
การผ่าตัด
- Myringtomy เจาะเยื่อแก้วหูเพื่อระบายหนองในหูชั้นกลางออก
ทำในรายที่ได้รับยาแล้วอาการไม่ดีขึ้น
- Mastiodrctomy ผ่าตัดโพรงกระดูกมาสตอยด์ ทำในกรณีที่มีการอักเสบโพรงกระดูกมาสตอยด์
มีหนองขังอยู่และไม่มีทางออก
การพยาบาล
- ควรมีการตรวจหูผู้สูงอายุและคัดกรองปัญหาการได้ยินในการตรวจสุขภาพประจำปี
เช่น การตรวจด้วยเครื่อง Otoscope เพื่อส่องดูหู ตรวจด้วยส้อมเสียงหรือใช้วิธีกระซิบ
2.ประเมินอาการปวดหูด้วย Numberical rating scale
เพื่อให้การพยาบาลตามระดับความปวด
3.สื่อสารกับผู้ป่วยในภาษาที่เข้าใจง่าย กระซับและชัดเจน เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและ
ลดปัญหาในการสื่อสาร
4.เช็ดตัวลดไข้และให้ยาแก้ปวดเท่าที่จำเป็นเพื่อบรรเทาอาการปวดและลดไข้
5.แนะนำการรับประทานยา Antibiotic เพื่อกำจัดแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุและ
ควรรับประทานอย่างต่อเนื่อง 10 -14 วัน
6.แนะนำไม่ให้ผู้ป่วยสั่งน้ำมูก เปิดปากเวลาไอหรือจาม ห้ามทำงานหรือยกของหนัก
งดออกแรง เพื่อลดแรงดันที่จะไปกระตุ้นเยื่อแก้วหูที่โป่งแดง
-
-
-
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 61 ปี มีโรคประจำตัวเป็นโรคเบาหวาน 1 เดือนก่อนมา มีอาการหูข้างขวาอื้อ ได้ยินไม่ชัด ไปรักษาที่คลินิกใกล้บ้าน อาการไม่ดีขึ้น 1 สัปดาห์ก่อนมา มีไข้หวัด เจ็บคอ จะมีอาการปวดในรูหู
หูอื้อ 5 ชั่วโมงก่อนมามีไข้สูงมากขึ้น และหนาวสั่น รับประทานยาไม่ดีขึ้น จึงมาโรงพยาบาล
ตรวจร่างกายไม่ พบของเหลวไหลออกมาผิดปกติจากรูหู การตรวจดูหูโดยใช้เครื่องส่องหู (otoscope)
พบเยื่อแก้วหูโป่งออก และเป็นสีแดงเรื่อๆ กดเจ็บบริเวณกระดูกหลังหู