Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงประสบ-อุบัติเหตุ (ขาขวาบวมผิดรูป (X- ray พบ Close fracture left femur,…
หญิงประสบ-อุบัติเหตุ
ขาขวาบวมผิดรูป
X- ray พบ Close fracture left femur
Closed fractor
ภาวะแทรกซ้อน
กดเบียดเส้นประสาท
injury
มีเลือดออกในกล้ามเนื้อ
เนื้อตายเน่า
(Gangrene)
ตรวจร่างกาย แรกรับ14.00น.Hct.=32 Vol%
18.00น. Hct =29 Vol%
22.00น. Hct. 26Vol%
กดเบียดหลอดเลือด
Compartment Syndrome
ประเมิน 6P
Polar
ปลายเท้าขวาเย็น
Parenthesia
ขาขวาชา
Pulse
คลำ Posterior tibia
pulse =0
Paralysis
Pallor
ปลายเท้าขวาซีด
Pain
score 8
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดขาข้างขวา
1 more item...
Fasciotomy
เป็นการผ่าตัดภาวะรักษา
Compartment syndrome
การผ่าตัดกรีดเนื้อเยื่อFascia ที่คลุมรอบกล้ามเนื้อบริเวณ Compartment
ลดภาวะ compartment syndrome
รูป
เกิดภาวะ Compartment syndrome จากการบาดเจ็บ/ใส่เฝือก
การพยาบาล
3.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการคลายเฝือกให้หลวมโดยการตัดเฝือกตามยาวโดยคลอดตัวตัด webril ออกด้วย แล้วแยกขยายให้มีช่องภายในเฝือกกว้างขึ้นไม่ให้เกิดการบีบรัด
4.จัดแนวแขน ขา ให้อยู่ในลักษณะเหยียดตรงและวางแขนขาบนหมอนให้สูงระดับหัวใจ เพราะถ้าห้อยแขน ขาต่ำจะทำให้เกิดการบวมมากขึ้น ความดันในช่องกล้ามเนื้อจะสูงแต่ถ้ายกแขน ขาสูงมาก เพื่อหวังผลให้ยุบบวมกลับทำให้เลือดแดงไปเลี้ยงกล้ามเนื้อในช่องกล้ามเนื้อได้น้อยลง
2.คลายสิ่งของเครื่องตามภายนอกที่ทำให้เกิดการบีบตัวหรือขัดขวางการไหลเวียนเลือด
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการวัดความดันในช่องกล้ามเนื้ออย่างต่อเนื่องโดยใช้เครื่องมือ tonometer ในการวัด ถ้าไม่มีเครื่องมือ อาจใช้เครื่องวัดความดันโลหิตต่อ วัดได้ ถ้ามีหลักฐานแน่ชัดว่า ความดันในช่องกล้ามเนื้อสูงมากกว่า 30 มล.ปรอท แพทย์จะพิจารณาการทำผ่าตัด fasciotomy
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการสำคัญ 6P
Skeletal traction ที่ขาไว้ ใช้น้ำหนัก 6 kg
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังจากการเข้า Traction
1.ดูแลตามหลักการเข้า Traction
หลักการดึง
-Line of Pull>แนวดึงต้องผ่านกระดูกที่หัก เชือกตึง
-Contineours traction>ดึงอย่างต่อเนื่อง
-Nonfriction>ไม่มีแรงเสียดทานแนวแรงดึงต้องไม่แตะ
-Position>ลำตัวอยู่กลาง ไม่บิดเบี้ยว
-Counter traction >ดึงทิศทางตรงกัน
5.แนะนำออกกำลังกล้ามเนื้อและเคลื่อนไหวเพื่อป้องกันข้อติดแข็ง
5.1 ยกขาที่เข้าเฝือกให้สูกกว่าระดับหัวใจ
5.2 กระตุ้นให้ผู้ป่วยกระดกปลายเท้าให้โผล่พ้นเฝือกเพื่อไม่ให้กล้ามเนื้อลีบ และกระดกข้อเท้าขึ้นลงบ่อยครั้ง
1 more item...
4.ดูแลไม่ให้ขอบของเครื่องพยุง เช่น Bohler Braun splint หรือ Thomas splint กดทับผิวหนัง
3.ประเมินภาวะติดเชื้อบริเวณผิวหนังที่ใส่เหล็ก เช่น บวม แดง ร้อน กดเจ็บ
2.ประเมิน 6P
6.ฝึกบริหารหาย และไอ
7.กระตุ้นให้ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันให้มากที่สุด
8.รักษาความสะอาดเฝือกไม่ให้แตกหักและสิ่งผิดปกติ เช่นกลิ่น มีน้ำเหลืองไหล เฝือกคับ เฝือกหลวม
9.สอนญาติให้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ป่วยในการฟื้นฟูสภาพ
รูป
Open reduction internal fixition (ORIF)
คือ การผ่าตัดเพื่อจัดกระดูกที่หักให้เข้าที่ โดยใช้วัสดุต่างๆเช่น แผ่นเหล็ก (Plate) แท่งเหล็กปลายแหลม (Pin) ลวด (wire) สกรู (screw) หรือแกนดามกระดูก (nail) ยึดตรึงกระดูกที่หักไว้ เพื่อช่วยในการสมานกันของกระดูก
การรักษา
Tramal 50 mg iv prn q 6 hr
Cefazolin 1 gm iv q 6 hr
จองเลือด 2 unit และให้ Pack red cell1 unit stat
Hct. q 4 hr.
5%D/NSS/2 1000 ml iv drip 80 cc/hr
รูป
ข้อมือซ้ายผิดรูป
X-ray พบ Closed fracture left distal radius
รูป
ใส่เฝือก
ประเมิน 6 P คือ Pain, Pallor , Polar, Parenthesia, Pulse, Paralysis
มีประวัติเคย ผ่าตัดรังไข่ออกทั้งสองข้าง
ไม่มีประจำเดือน
ขาดฮอร์โมน estrogen
ช่วยในการทำงานของกล้ามเนื้อและกระดูก
มวลกระดูกลดลง
การสร้างกระดูกลดลง