Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทยอายุ 32 ปี G1P0 GA 35+1 wks (21/8/62 เวลา21.00น. รับใหม่ที่ ER…
หญิงไทยอายุ 32 ปี G1P0 GA 35+1 wks
21/8/62 เวลา21.00น. รับใหม่ที่ ER ให้ประวัติ 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลมีอาการปวดท้อง ท้องแข็ง ทุก ๆ 5 - 10 นาที นานครั้งละ 40 - 50 วินาที และมีน้ำใสไหลออกทางช่องคลอด
Admit ที่ LR เวลา 21.10-21.30 น. ได้รับการรักษา on monitor พบมี UC I 2-3 นาที D 45 วินาที mild-mod PV by speculum cx.dilate 2 cm AF clear FHS 130-190 bpm
เวลา 22.00 น Uterine Contraction ถี่ขึ้น I 20 นาที 45วินาที D 50 วินาที mild-mod FHS 150-170 bpm on monitor continuous
ได้รับการรักษา
Ringer lactate 1000ml IV drip 100 cc/hr
Dexamethasone 6 mg IM q 12 hr.*4 dose
กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงของเซลล์เยื่อบุผิวภายในปอด
กระตุ้นการสร้างและหลั่งสารเคลือบผิวถุงลม จากเซลล์เข้าสู่ถุงลมปอด
เร่งการเจริญของโครงสร้างปอด
ลดอันตรายจากกลุ่มอาการหายใจลำบากของทารก
ปกติสร้างครบเมื่อายุครรภ์ 34 week
Ampicillin 2 g IV q 6 hr.
ยับยั้งการแบ่งเซลล์และการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
แบคทีเรียไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
Nifedipine ( 10 ) 1 tab q 15 นาที * 4 dose then 1 tab q 6 hr
ปิดกั้น L-type voltage-activated calcium channel
ยับยั้งaction potential prolongation
Ca2+ATPase pump เอา Ca2+ ion ใน cytosol เข้าไปเก็บไว้ในแหล่งเก็บภายใน cell แล้ว pump ออกสู่ภายนอก cell
Ca2+ion จากใน cytosol ลดลงสู่สภาวะพัก
Ca2+ionที่จับอยู่กับ binding protein จะหลุดออก
1 more item...
22/8/62 เวลา 02.00 น. DTX 82 mg% ประเมินพบ Uterine Contraction I 4 นาที D 50 วินาที mod FHS 160 bpm ↑ ได้รับ 0.9% NSS 500 ml + Bricanyl 10 amp IV 20 dpm
เวลา 04.00 น. DTX 189 mg% ↑ PR 116 bpm ↑ประเมินไม่พบ Uterine Contraction ใน 10 นาที FHS 168 bpm ↑ มีอาการใจสั่นเล็กน้อย แพทย์ทำการลด Bricanyl เหลือ 16 dpm และแผนการรักษา ให้ DTX q 2 hr. keep 70 -110 mg%
เวลา 05.20 น. PR 120 bpm↑ ประเมินไม่พบ Uterine Contraction ใน 30 นาที ยังมีอาการใจสั่น จึงลด Bricanyl เหลือ 12 dpm
เวลา 06.30 น. เปลี่ยน pad 2 ครั้ง ปริมาณรวมทั้งหมด 1 ผืน
เวลา 07.30 น. DTX 278 mg% ↑ PR 135 bpm ↑ มีอาการใจสั่น จึงลด Bricanyl เหลือ 8 dpm
เวลา 08.00 น. DTX 279 mg% ↑ PR 124 bpm ↑ ประเมินไม่พบ Uterine Contraction ใน 10 นาที มีอาการใจสั่นเล็กน้อย FHS 169 bpm ↑ มีแผนการรักษาให้ได้รับ RI 6 unit SC stat และ ให้รับประทานอาหารเช้าได้ตามปกติ
1 more item...
Bricanyl
Beta-advenesgte receptor agonist ออกฤทธิ์กระตุ้น Adenosine triphosphate (ATP)
เปลี่ยนเป็นadenosine triphosphate (ATP) เป็น cyclic -adenosine monophosphate (C-AMP) เพิ่มขึ้น
ระดับ Calcium ใน Cell ลดลง
ยับยั้งการทำงานของ Myosin light chain kinase (MLK)
1 more item...
ยับยั้ง Beta cell ที่ตับอ่อน ให้สร้าง insulin ลดลง
glucose ออกจาก cell เข้าสูู่หลอดเลือด
ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
*2.มีภาวะ Hyperglycemia เนื่องจากเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
กระตุ้นกระบวนการ gluconeogenesis
ปฏิกิริยาของน้ำคร่ำและ Chorianic Phosphodipase A2
ทำให้เกิด Hydrodyzes Phospholipid ในเยื่อรก
เกิด Free Arachidonic acid สูงขึ้น
สังเคราะห์ prostaglandin สูงขึ้น
มดลูกมีการหดรัดตัว
ปริมาณน้ำคร่ำลดลง
ส่งเสริมให้ทารกถูกบีบจากมดลูกมากขึ้น
สายสะดือถูกกด ( cord compression)
Fetal hypoxemia
copensatory mechanisms
Inadequate
hypercapnia,hypoxia
Fetal distress
1 more item...
*4.เสี่ยงต่อการติด เชื้อในโพรงมดลูกเนื่องจากมีถุงน้ำคร่ำรั่วซึม
*1.มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดเนื่องจากมีถุงน้ำคร่ำรั่วซึม
ก่อนตั้งครรภ์คุมกำเนิดโดยการใช้ถุงยางอนามัย วางแผนการตั้งครรภ์ หลังจากแต่งงานมา 3 เดือน ไม่ได้คุมกำเนิดและไม่ได้ใส่ถุงยางอนามัยเพราะต้องการมีบุตร
มาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ ที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ GA 7+4 weeks
ผล Lab I Blood group B Rh positive , Hb 12.1 gm% , Hct 38.8 % , VDRL non-reactive , HBsAg negative , Urine protein negative , Urine sugar negative
ผล Lab II Hct 37.3% serology all negative เมื่ออายุครรภ์ 32+4 weeks
ฝากครรภ์ทั้งหมด 12 ครั้ง มาตามนัดทุกครั้ง
ตรวจพบเบาหวานขณะตั้งครรภ์ครั้งแรกเมื่อ GA 25+4 weeks xผล 50 gms GCT ได้ 153.2 mg/dl (ปกติมีค่า<140 mg/dl)
ตรวจ 100 gms OGTT เมื่ออายุครรภ์ GA26+4weeks ผล 76 ,181 ,180 ,147 mg/dl (ค่าปกติ <105,190,165,145 mg/dl ; หากผิดปกติตั้งแต่ 2 ใน 3 ค่า แสดงว่าเป็น GDM) หลังจากนั้นแพทย์ส่ง consult DM
Diagnosis Gestational diabetes mellitus เมื่ออายุครรภ์ 29+4 weeks
หลังจากตรวจพบว่าเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การควบคุมอาหารโดยไม่รับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำตาลมาก ลดปริมาณแป้ง ทานเนื้อสัตว์ นมวันละ 1 กล่อง ไข่ ผัก เพิ่มมากขึ้น เน้นโปรตีน และทานผลไม้ระหว่างมื้อ เช่น ส้ม ชมพู่ แตงโม มะม่วงเปรี้ยว ทับทิม ฝรั่ง กล้วย
ปกติก่อนวินิจฉัยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ชอบรับประทานของหวาน ขนมหวาน ติดรสหวาน ชอบกินชาเย็น ชาเขียว นมสด ดื่มสัปดาห์ละ 3-4 แก้ว
เมทาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรตผิดปกติ
ระดับน้ำตาลในเลือดไม่สมดุลระหว่างความต้องการกับการสร้าง
กระตุ้น lslets of langerhan's ยับยั้ง การหลั่ง insulin
เกิดภาวะดื้อ insulin
ปฏิเสธประวัติโรคในครอบครัว
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 50 กิโลกรัม น้ำหนักปัจจุบัน 59 กิโลกรัม ส่วนสูง 156 เซนติเมตร
BMI 20.55 kg/m^2 อยู่ในเกณฑ์ปกติ
Pt.บอกว่ากลัวคลอดก่อนกำหนด เป็นห่วงลูกในท้อง
สีหน้าวิตกกังวล
*3.วิตกกังวลเกี่ยวกับทารกในครรภ์ว่าจะได้รับอันตรายเนื่องจากมีภาวะคลอดก่อนกำหนด
อาชีพนักวิจัย ต้องนั่งหน้าคอมนาน ทำงานวันละ 8 ชม.
เกิดความเครียด
ทำให้มีการหลั่ง catecholamine สูงขึ้น
ส่งผลกระตุ้นระบบประสาท sympathetic
รกทำหน้าที่ลดลง
กระตุ้นการทำงานของ hypothalamic pituitary adrenal axis ที่ควบคมุการ หลั่งของ corticotrophinreleasing hormone [CRH] ทำให้สตรีตั้งครรภ์มี ฮอร์โมนดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น
กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล
ส่งผลยับยั้ง การผลิตฮอร์โมน progesterone ที่รก และ ฮอร์โมน estrogen จะเพิ่มการผลิตมากขึ้น
ทำให้ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจที่เพิ่มขึ้น
ระยะหลังของการตั้งครรภ์
HPL,prolactin,cortisol,glucagon เพิ่มขึ้น
ความต้องการ insulin ที่เพิ่มขึ้น
ระยะแรกของการตั้งครรภ์
estrogen และ progesterone จากรกสูงขึ้น
กระตุ้น beta cell ของตับอ่อน
มีการหลั่ง insulin เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ทำให้มีการสะสมของไกลโคเจนในเนื้อเยื่อมากขึ้น มีการใช้ glucose เป็นหลักในการสร้างพลังงาน
ทำให้ FBS ต่ำกว่าระดับก่อนตั้งครรภ์