Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
**Dx. กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิด ST-elevation…
**Dx. กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิด ST-elevation myocardial infarction (STEMI)
การรักษา
ยา
-Morphine 3 mg
-O2 cannula 3 LPM.
-Nitroglycerine
-ASA gr V1 tab
-Dopamine
-Isosorbide dinitrate
Percutaneous coronart intervention balloon with stent
ใช้หลัก MONA
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีภาวะเจ็บหน้าอกเนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ผู้ป่วยบ่นเจ็บแน่นบริเวณกลางอกและกรามร้าวไปที่แขนซ้าย
OD: Ps = 10/10 ผลการตรวจ EKG พบ ST elevated มีเหงื่อออก ตัวเย็น
เป้าหมายการพยาบาล
หายหรือทุเลาจากอาการเจ็บแน่นหน้าอก
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยบอกว่าไม่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก หรือบอกระดับความเจ็บปวดลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
3.ติดตามและเฝ้าระวัง สัญญาณชีพทุก 15 นาที จำนวน 2 ครั้ง ทุก 30 นาที จำนวน 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าจะคงที่
4.ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
5.ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดเลือด หรือยาบรรเทาอาการเจ็บแน่นหน้าอก เช่น Isordil หรือ Morphine ตามแผนการรักษา
6.ดูแลช่วยเหลือในการทำกิจกรรมต่างๆ ของผุ้ป่วยอย่างเหมะสม เช่น การจัดท่านอน 45 องศา เพื่อความสุขสบาย
1.ติดตามและเฝ้าระวังอาการเจ็บหน้าอก พร้อมทั้งบันทึกลักษณะ ระยะเวลาและระดับความรุนแรง โดยใช้ Pain scale ของอาการเจ็บแน่นหน้าอก
2.ดูแลตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ขณะที่ผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลงเนื่องจากมีภาวะหัวใจขาดเลือด
ข้อมูลสนับสนุน
เป้าหมายการพยาบาล
เกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการแสดงปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลง ได้แก่ หายใจหอบเหนื่อยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องช่วยในการหายใจ อาการเจ็บอก หัวใจเต้นผิดปกติ หน้ามืดวิงเวียน ผิวเย็นซีด
2.วัดชีพจรทุก 1 ชั่วโมง เนื่องจากที่หัวใจเต้นเร็วจะทำให้ออกซิเจนของหัวใจเพิ่มขึ้น
3.ให้นอนศีรษะสูง 30-90 องศา เพื่อช่วยลดปริมาตรเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจและช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น
PR = 60-100 bpm , RR = 16-24 bpm ,
BP = systolic = 90-140 mmHg , Diastolic = 60-90 mmHg
ผลการตรวจ Troponin = 0.0 - 0.1 ng/ml
เพื่อให้ปริมาณเลือดออกจากหัวใจเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
SD : -
OD: PR = 56 bpm , RR = 28 bpm ,BP = 80/60 mmHg
ประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลงเนื่องจากมีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ข้อมูลสนับสนุน
เป้าหมายการพยาบาล
เกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการหัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว ความดันโลหิตต่ำ pulse pressure แคบ กระสับกระสาย ซึมลง ผิวหนังซีดเย็น เหงือออก
2.วัดสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง และทุก 4ชั่วโมงในระยะต่อมา
3.สังเกตภาวะช็อค หมดสติ
4.หากมีภาวะช็อค ให้ยา dopamine และ titrate
1.ไม่มีอาการตัวเย็นซีด
2.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
อุณหภูมิร่างกาย = 36.5 -37.4
อัตราการเต้นของหัวใจ = 60-100 bpm
อัตราการหายใจ = 16-24 bpm
ความดันโลหิต = systolic = 90-140 mmHg , Diastolic = 60-90 mmHg
เพื่อเพิ่มการทำงานของหัวใจ
SD : -
OD: PR = 56 bpm , RR = 28 bpm ,BP = 80/60 mmHg
สารนิโคติน
หลอดเลือดหัวใจหดตัวและตีบลง
เลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ
หัวใจขาดเลือดจนเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน
สูบบุหรี่
ชอบรับประทานอาหารหวานมัน
กระตุ้นทำให้ไขมันในเลือดสูง
ดื่มสุรา
การเต้นขอหัวใจและการบีบตัวของหัวใจไม่ปกติ
หัวใจเต้นเร็วขึ้น
กล้ามเนื่อหัวใจทำงานไม่ดี
อาการเต้นของหัวใจไม่ปกติ
ระดับไขมันในเลือดสูง
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ขณะนั่งทำงานมีอาการเจ็บแน่นที่บริเวณกลางอกและกร้ามร้าวไปที่แขนซ้าย เจ็บมากขึ้นเรื่อยๆ และเจ็บนานขึ้น แจ้งให้ 1169 มารับ
Isosorbide dinitrate อมใต้ลิ้น 3 เม็ด
อาการไม่ทุเลา
แรกรับผู้ป่วยรู้สึกตัวดี มีอาการเจ็บหน้าอกมากระดับ 10/10 เจ็บร้าวไปที่กรามไหล่ แขนข้างซ้าย มีเหงื่ออก ตัวเย็นชื้น
ST elevated ใน lade II,III
เจ็บหน้าอก Pain score=10/10
EKG monito
EKG monitoring พบ 2 degree AV block with ST elevated
EKG monitoring
ผลการตรวจ EKG 12 Leads พบ ST elevated ในLead ll, lll, avf
ผลตรวจเลือดCK - MB = 68 U/L ,Troponin T= 1.186 ng/ml (positive)
ผู้ป่วยสูบบุหรีมาประมาณ 20ปี วันละ 2ซอง