Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 8
มะเร็งเม็ดเลือดขาวมัลติเพิลมัยอิโลม
(Multiple myeloma)
…
กรณีศึกษาที่ 8
มะเร็งเม็ดเลือดขาวมัลติเพิลมัยอิโลม
(Multiple myeloma)
การพยาบาล
-
-
-
-
-
-
-
-
1.รับประทานอาหารโปรตีนสูง อาหารสุก สะอาด สดใหม่ หลีกเลี่ยงอาหารหมักดอง ผักสด ผลไม้ทั้งเปลือก ล้างมือก่อน-หลังรับประทานอาหาร
สาเหตุ
-
ทฤษฎี
- เกิดจากความผิดปกติของ Plasma cell
-
- การสร้างสารเคมีชนิดหนึ่งที่ไม่กระตุ้น การสร้างเซลล์ชนิดทำลายกระดูก
- ส่งผลให้ภูมิคุ้มกันสร้างโปรตีนมากขึ้น ทำให้เลือดมีลักษณะข้นหนืด ก่อให้เกิดการอุดตันที่ส่วนต่างๆ
-
- ส่งเป็นกลุ่มของเลล์เม็ดเลือดขาว ผู้ป่วยโรคเบาหวาน Plasma cell มีการเจริญเติบโตผิดปกติ เกิดขึ้นในไขกระดผุกส่งผลให้ร่างกายขาดเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกร็ดเลือด
-
3.เกษตรกรหรือคนที่ใกล้ชิดสารเคมี ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในพันธุกรรม ทำให้เกิดเซลล์ชนิดร้ายกลายเป็นเซลล์มะเร็งในไขกระดูก
พยาธิสภาพ
ทฤษฎี
โรคมะเร็งเม็ดโลหิตขาวชนิดมัยอีโลมา (MM) เป็นมะเร็งเม็ดโลหิตขาวที่เกิดจากกระบวนการแบ่งตัวของplasma cell (clonal proliferation) ที่พัฒนามาจาก
B lymphocyte ในไขกระดูก ซึ่งมีความผิดปกติไปโดยที่ plasma cellclone ที่มีความผิดปกติเหล่านี้จะท้าให้ผู้ป่วยเกิดอาการซีด มีการท้าลายกระดูกมากขึ้นจนเกิดอาการปวดกระดูก กระดูกหักง่าย นอกจากนี้ยังท้าให้เกิดการสร้าง monoclonal protein (M-protein) มากขึ้นอันนำไปสู่การเกิดภาวะเลือดหนืด (hyperviscosity) เนื่องจากมีปริมาณ M-protein ที่สูงมากในเลือด และภาวะไตวายจาก light chain (bence jones protein)
-
อาการและอาการแสดง
ทฤษฎี
ภาวะซีดจากการที่เซลล์มะเร็งไปแทนที่เซลล์เม็ดเลือดแดงปกติในไขกระดูก และหลั่งสารซึ่งลดการสร้างเม็ดเลือดแดง ทำให้มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
ภาวะไตวาย จากโปรตีนผิดปกติที่เซลล์มะเร็งหลั่งออกมามีพิษต่อไต ทำให้ไตวาย มีอาการบวม ปัสสาวะออกน้อย อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน
-
อาการปวดกระดูก กระดูกหักง่าย จากการที่เซลล์มะเร็งหลั่งสารเพิ่มสลายกระดูกและลดการสร้างกระดูก นอกจากนี้ทำให้มีระดับแคลเซียมในเลือดสูง ทำให้มีอาการซึมได้
กรณีศึกษา
มีอาการเหนื่อยง่าย ปวดกระดูกบริเวณหลัง มี Hb = 9 g/dL Hct=27%, Serum Creatinine = 2.5 mg/dl ,Serum calcium=14 mg/dL
ความหมาย
เป็นมะเร็งของ plasma cells เกิดจากการกระตุ้น Oncogenes หรือมีความผิดปกติในการควบคุม Cgtokine recepter genes หรือการขาดหายของ Tumor suppressor gens
Myeloma cell ทำให้มีการทำลายกระดูก (ปวดกระดูก) (แคลเซียมในเลือดสูง) กดการทำงานของเซลล์ปกติในกระดูก (Pancytopenia)
-
การรักษา
ทฤษฏี
1.การรักษาหลักเป็นการให้ยาเคมีบำบัดแบบใหม่ (Novel Agent Therapy) ในปัจจุบันได้มียาเคมีบำบัดแบบใหม่หลายกลุ่มที่ให้ผลดีในการรักษา และผลข้างเคียงน้อย ได้แก่ ยากลุ่มแอนติบอดีที่จำเพาะต่อพลาสมาเซลล์ (Monoclonal Antibody) ยากลุ่ม Proteasome Inhibitor หรือ ยากลุ่ม Immunomodulator โดยแพทย์จะพิจารณาเลือกยาเคมีบำบัดตามอาการ อายุ โรคเดิม และสภาพร่างกายของผู้ป่วยเป็นหลัก การใช้ยารักษาในปัจจุบันรวมไปถึงการใช้ยาเพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำของโรค (Maintenance) หลังจากที่โรคเข้าสู่ภาวะโรคสงบแล้ว ซึ่งพบว่าทำให้ผู้ป่วยมีชีวิตยืนยาวขึ้น นอกจากนั้นยังมีการใช้ยาทั้งในแบบยากินและยาฉีดเพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำของโรค (Maintenance Therapy) หลังจากที่โรคมะเร็งไขกระดูกมัยอิโลมาเข้าสู่ระยะโรคสงบแล้ว ซึ่งทำให้ผู้ป่วยสามารถมีชีวิตยืนยาวขึ้น
3.การฉายแสงเฉพาะที่ในกรณีที่ก้อนพลาสมาไซโตมา (Plasmacytoma) ไปเบียดกดอวัยวะข้างเคียง หรือมีอาการปวดรุนแรงจากภาวะกระดูกหัก
4.การให้ยาเพิ่มความแข็งแรงกระดูก ได้แก่ ยาในกลุ่มบิสฟอสฟาเนท (Bisphosphanate) ซึ่งเป็นยาที่ใช้มานาน แต่มีข้อห้ามที่ผู้ป่วยที่มีภาวะไตวาย ในปัจจุบันมียาแอนติบอดีกลุ่มใหม่ที่สามารถใช้แม้ในผู้ป่วยที่มีภาวะไตวาย ซึ่งสามารถลดภาวะแทรกซ้อนทางกระดูกจากมะเร็งได้
5.การฉีดซีเมนต์หรือใช้บอลลูนถ่างเพื่อค้ำยันกระดูกสันหลังที่หัก (Kyphoplasty or Vertebroplasty) เพื่อลดอาการปวดจากกระดูกสันหลังที่หัก
2.การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดจากตัวเอง (Autologous Stem Cell Transplantation) หลังจากที่โรคตอบสนองหลังจากการให้ยาเคมีบำบัดช่วงแรกแล้ว โดยทั่วไปจะพิจารณาทำในผู้ป่วยที่มีอายุน้อยกว่า 65 ปีที่มีสภาพร่างกายพร้อมและไม่มีโรคประจำตัวที่เป็นข้อห้าม อย่างไรก็ตามในผู้ป่วยที่อายุมากกว่า 65 ปีที่สภาพร่างกายแข็งแรง แพทย์จะพิจารณาความเหมาะสมเป็นราย ๆ ไป
-
การวินิจฉัย
ทฤษฎี
ตรวจนับเม็ดเลือดมักพบภาวะซีดหรือเกล็ดเลือดต่ำได้ ถ้าอาการรุนแรงสามารถพบมะเร็งพลาสมาเซลล์ในกระแสเลือดได้ เรียกว่า พลาสมาเซลล์ลูคีเมีย (Plasma Cell Leukemia)
-
-
-
-
ตรวจไขกระดูกเพื่อประเมินจำนวนมะเร็งพลาสมาเซลล์ รวมไปถึงการตรวจโครโมโซมจากไขกระดูกเพื่อวางแผนการรักษา
กรณีศึกษา
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ Hb=9g/dL,Hct=27%
Serum Creatinine = 2.5 mg/dl Serum calcium=14 mg/dL EKG:short QT interval
กรณีศึกษาที่ 8
ชายไทยอายุ 58 ปี อาชีพเกษตรกร มาโรงพยาบาลด้วยอาการเหนื่อยง่าย และปวดกระดูกบริเวณหลัง Pain score 6-7 คะแนน สัญญาณชีพพบ T=36.9 องศาเซลเซียส , PR=22 bpm , BP=145/95 mmHg ให้ประวัติว่าเคยได้รับการวินิจฉัยเป็น Multiple myeloma ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Hb=9g/dL,Hct=27%, Serum Creatinine = 2.5 mg/dl ,Serum calcium=14 mg/dL EKG:short QT interval ได้รับการรักษาด้วยยา Melphalan Prednisone และ Pamidronate