Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวฟิรดาว นามสกุลสีเปาะ รหัส5906510094 (บทที่ 7แหล่งการเรียนรู้และเคร…
นางสาวฟิรดาว นามสกุลสีเปาะ รหัส5906510094
บทที่4
ทฤษฎีการออกแบบการสร้าง
และการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางการศึกษา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจทฤษฎีการออกแบบและการสร้าง
นวัตกรรมทางการศึกษา
เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศทางการศึกษาได้
การออกแบบ และการสร้างนวัตกรรม
นวัตกรรม หรือ นวกรรม มาจากคาว่า “นว” หมายถึง ใหม่ และ
“กรรม” หมายถึง การกระทำ
“นวัต
กรรม”มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคำกริยาว่า innovate แปลว่าทำ
ใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ นวัตกรรม จึงหมายถึงการนำสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทำอยู่เดิมเพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมาย
ถึง สิ่งใหม่ที่นำมาใช้ในการจัดการศึกษา
นวัตกรรมการเรียนการสอน (Instructional Innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ที่
นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
นวัตกรรมการเรียนรู้ (Learning Innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ที่นำมาใช้ให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ ในการนำนวัตกรรมมาใช้
เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพของการสอน ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้
เรียน แต่บางครั้งมีการนำนวัตกรรมมาใช้ เพื่อแก้ปัญหาของผู้เรียน
องค์ประกอบของนวัตกรรมการเรียนรู้
วัตถุประสงค์
เป็นส่วนที่บอกว่านวัตกรรมนั้นใช้เพื่อพัฒนาอะไรผลที่เกิดขึ้นจากการใช้คืออะไรวัตถุประสงค์ที่มีความชัดเจน
จะช่วยให้ผู้ที่ต้องการใช้นวัตกรรมนั้นมีข้อมูลสำหรับ
พิจารณาตัดสินใจ
แนวคิดพื้นฐาน
เป็นส่วนที่ทำให้นวัตกรรมมีความน่าเชื่อถือว่าเมื่อนำไปใช้ จะประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ดังนั้น
ทฤษฎี หลักการ ที่นำมาใช้เป็นแนวคิดพื้นฐานต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และให้แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และถ้าทฤษฎี หลักการเหล่านั้น มีงานวิจัยรองรับผล ก็จะยิ่งทำให้มั่นใจว่าการใช้นวัตกรร
มนั้น จะได้รับผลตามที่ต้องการ
โครงสร้างหรือขั้นตอนการใช้
เป็นส่วนที่แสดงภาพรวมของนวัตกรรม ถ้านวัตกรรม
เป็นวัตถุ สิ่งของ จะมีโครงสร้างที่แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ
เช่น ชุดการสอนแผนจุฬา ประกอบด้วย ซองบรรจุเอกสารบัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม บัตรคำถาม และบัตรเฉลย
เป็นต้น ส่วนนวัตกรรมที่เป็นวิธีการ หรือกระบวนการก็จะแสดงขั้นตอนการใช้นวัตกรรมเป็นลำดับขั้น เช่น รูปแบบการสอน
ต่างๆ จะมีคำอธิบายขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตั้งแต่ขั้นเตรียมการขั้นผู้เรียนทำกิจกรรมการเรียนรู้และขั้นการ
จัดการหลังการเรียนรู้
บทที่ 5 การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินผลสื่อการเรียนรู้ หมายถึง การนำเอาผลการวัดและประเมินสื่อ
การเรียนการสอนมาตีความหมายInterpretation ) และ ตัดสินคุณค่า ( Value
Judgment ) เพื่อที่จะรู้ว่าสื่อนั้นทำหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้แค่ไหนมีคุณภาพดีหรือไม่เพียงใด มีลักษณะถูกต้องตามที่ต้องการหรือไม่ประการใด
ความสำคัญของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้
เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินโดยผู้สอน
การประเมินโดยผู้ชำนาญ
การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ
การประเมินผลโดยผู้เรียน
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ
การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
แบบสอบถามวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบสอบถามความถนัดเพื่อวัดสมรรถนะของผู้เรียน
แบบสอบถาม
การสังเกตุการเฝ้าดูผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สื่อการสอน
การสัมภาษณ์การซักถามการพูดคุยกับผู้ผลิตผู้ใช้และผู้เรียน
บทที่ 6รูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมทางการ
ศึกษา
ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
“นวัตกรรมการศึกษา(Educational
Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอน
มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัด
เวลาในการเรียนได้อีกด้วย
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
บทที่ 7แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
ทางการศึกษา
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
ทางการศึกษา
“แหล่งเรียนรู้” หมายถึง “แหล่ง” หรือ “ที่รวม” ซึ่งอาจเป็นสภาพ
สถานที่ หรือศูนย์รวมที่ประกอบด้วยข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และ
กิจกรรมที่มีกระบวนการเรียนรู้ หรือกระบวนการเรียนการสอนที่มี
รูปแบบแตกต่างจากกระบวนการเรียนการสอนที่มีครูเป็นผู้สอน หรือศูนย์กลางการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ที่มีกำหนดเวลาเรียนยืดหยุ่นสอดคล้องกับความต้องการและความพร้อมของผู้เรียนการประเมิน
และการวัดผลการเรียนมีลักษณะเฉพาะที่สร้างขึ้นให้เหมาะสมกับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ความสำคัญของเครือข่ายการเรียนรู้
จุดเริ่มต้นของ ระบบเครือข่ายการเรียนรู้สารสนเทศ หากย้อนไปเมื่อประมาณ 50 ปีที่แล้ว คอมพิวเตอร์เครื่องแรกกำเนิดขึ้นที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ต่อมาคอมพิวเตอร์ก็มีบทบาทสร้างสรรค์สังคมมนุษย์เข้ามาช่วยเหลืองานต่าง ๆ ของมนุษย์มากมายจินตนาการการสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็มีมานานแล้ว โดยเฉพาะในนิยายวิทยาศาสตร์ ผู้เขียนนิยายวิทยาศาสตร์หลายท่านได้สร้างจินตนาการให้เห็นระบบสื่อสารที่ทรงพลัง โดยมีคอมพิวเตอร์ช่วยเป็นสื่อในการรับส่งข้อมูลระหว่างกัน
แหล่งการเรียนรู้
จัดตามลักษณะของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ตาม
ธรรมชาติ
แหล่งการเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
บุคคล
จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ใน
โรงเรียน
แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครือ
ข่ายการเรียนรู้
ขั้นการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการธำรงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้