Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
น.ส.ชนนิกานต์ แซ่ปัก 5906510093 :fire: (บทที่1 แนวคิดทฤษฎี…
น.ส.ชนนิกานต์ แซ่ปัก
5906510093 :fire:
บทที่1 แนวคิดทฤษฎี นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรม
คือ การนำแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบ ใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ หรือ ”การทำในสิ่งที่แตกต่างจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม”
นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation)
หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ความหมายของเทคโนโลยี
หมายถึง การใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้ที่นำเอาเทคโนโลยีมาใช้ เรียกว่านักเทคโนโลยี (Technologist)
เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology)
ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนำวิธีการ มาปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษาให้สูงขึ้นเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุม องค์ประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศช่วยการเรียนการสอน การวางแผนและการบริหารการศึกษา การวางแผนหลักสูตร การแนะแนวและบริการ การทดสอบวัดผล การพัฒนาบุคลากร
ความสำคัญของเทคโนโลยีที่มีต่อการศึกษา
หมายถึง การนำเอาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้นั้น ส่วนใหญ่นำมาใช้ในการแก้ปัญหา ในด้านการศึกษาก็เช่นเดียวกัน เพราะปัญหาทางด้านการศึกษามากมาย
บทบาทของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น ทำให้ผู้สอนมีเวลาให้ผู้เรียนมากขึ้น
เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน การเรียนการสอนจะเป็นการตอบสนองความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้ดี
เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน
เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง
เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด
เทคโนโลยีการศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
ต้องอาศัยวิธีการที่สำคัญอย่างน้อยอีก 2 วิธี ได้แก่
วิธีการเชิงมนุษยวิทยา (Humunistic Approach) ได้แก่ การที่ครูให้ความสนใจต่อการพัฒนา ในด้านความเจริญเติบโตของผู้เรียนแต่ละคน
วิธีการสอนเชิงระบบ (Systematic Approach) ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน โดยอาศัยวิธีระบบ ทั้งนี้เพราะการเรียนการสอนเป็นการถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะของการเข้าใจเนื้อหาวิชา
หลักการและทฤษฎี เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาในแง่ของการเรียนรู้
หลักการจูงใจ
การพัฒนามโนทัศน์
การมีส่วนรวมและการปฏิบัติ
การฝึกซ้ำและการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าบ่อยๆ
อัตราการเสนอสื่อในการเรียนการสอน
ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็นผล
กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี
การจัดระเบียบประสบการณ์เทคโนโลยีทางการศึกษา
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอันมีผลทำให้เกิดนวัตกรรม
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องความพร้อม
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการใช้เวลาเพื่อการศึกษา
แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการขยายตัวทางวิชาการและอัตราการเพิ่มประชากร
การนำนวัตกรรม และเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษาและใช้ในการเรียนการสอน
ประสิทธิภาพ (Efficiency) ในการเรียนการสอนต้องให้ผู้เรียนผู้สอนได้เรียนและได้สอนเต็มความสามารถเต็มหลักสูตรเต็มเวลาด้วยความพึงพอใจ เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์เต็มความสามารถ (Full Energy) และเกิดความพอใจ (Satisfaction) เป็นที่ได้ใช้สื่อนั้น
ประสิทธิผล (Productivity) ในการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดประสงค์ตามที่กำหนดจุดประสงค์ไว้ซึ่งนักเรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุจุดประสงค์ได้ดีกว่า สูงกว่าไม่ใช้สื่อนั้น
ประหยัด (Economy) ในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการสอน ต้องคำนึงถึงสภาพความเหมาะสมตามฐานะแล้ว จะต้องประหยัด นั่นคือ ประหยัดทั้งเงินประหยัดเวลา และประหยัดแรงงาน
INNOTECH หรือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเรียนการสอนระบบไม่มีชั้น (Non –Graded System)
ระบบการเรียนโดยนักเรียนสอนกันเอง นักเรียนเก่งสอนนักเรียนอ่อน
การจัดคาบเวลาการเรียนการสอนแบบยืดหยุ่น (Modular Scheduling)
การแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มตามวิชาที่เลือก ตามความถนัด ความสามารถหรือความสนใจของเด็ก (Flexible Grouping)
การกำหนดวิธีการสอนให้เหมาะสมกับแต่ละรายบุคคล (Individually Prescribed Instructing
เป้าหมายของนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
การขยายพิสัยของทรัพยากรของการเรียนรู้
การเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล
การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา
พัฒนาเครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา
องค์ประกอบของเทคโนโลยีทางการศึกษา
บุคลากร
การเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การจัดการ
บทที่ 3 ห้องเรียนกลับด้าน FlippedClassroom
คือวิธีการเรียนแนวใหม่ฉีกตำราการสอนแบบเดิมๆ ไปโดยสิ้นเชิงและเป็นที่นิยมในโลกปัจจุบันที่การศึกษาและเทคโนโลยี เป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน
ข้อดีของห้องเรียนกลับด้าน
2.การใช้วีดีโอจะช่วยให้นักศึกษาปรับได้ในปรับได้ในแบบที่ตัวเองต้องการและไม่กดดัน
3.การเปลี่ยนการบ้านและโปรเจคมาทำในห้องเรียน โดยมีอาจารย์ควบคุมดูแล จะช่วยให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น
4.ช่วยยกระดับความสัมพันธ์ และบรรยากาศในห้องเรียน
1.กำจัดข้อเสียของรูปแบบเดิม คือนักศึกษาต้องพยายามเข้าใจในสิ่งที่อาจารย์พูดทันที
ข้อเสียของห้องเรียนกลับด้าน
1.เป็นการเพิ่มภาระงานให้แก่อาจารย์
2.ไม่ช่วยแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่ตั้งใจเรียน
3.นักเรียนที่ไม่ถนัดเรียนรู้ด้วยตัวเอง อาจไม่สามารถเข้าใจได้ดีนัก
อาศัยเวลาและความรับผิดชอบ
บทที่ 2 ทักษะที่ควรมีในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
คิดสร้างสรรค์
ใส่ใจนวัตกรรม
มีวิจารณญาณ
แก้ปัญหาและสื่อสารได้ดี
ทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี
อัพเดตทุกข้อมูลข่าวสาร
รู้เท่าทันสื่อ รอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ฉลาดสื่อสาร
ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ
ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
การริ่เริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ
3R7C
Reading
Writing
Arithemetics
ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม
ทักษะด้านความร่วมมือ ภาวะผู้นำ
ทักษะด้านการสื่อสาร คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี
ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้
โลกในศตวรรษที่ 21 ที่เด็กควรรู้
โครงสร้างพื้นฐาน 4 ด้าน
หลักสูตร
การพัฒนาครู
มาตรฐานและการประเมิน
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้
สาระวิชาหลัก
ภูมิศาสตร์
ภาษาแม่
ความเป็นพลเมืองดี
ศิลปะ คณิต
เศรษฐศาสตร์
ประวัติศาสตร์
แนวคิดสำคัญในศตวรรษ
ความรู้เกี่ยวกับโลก
ความรู้ด้านการเงิน
ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองดี
ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม
ปลูกฝังทักษะต่างๆ
ทักษะด้านสารสนเทศและเทคโนโลยี
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ทักษะชีวิตและการทำงาน