Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จริดา เมงไซ 5906510037 (บทที่1 แนวคิดทฤษฏี นวัตฒกรรมและเทคโรโลยีสารสนเทศทา…
จริดา เมงไซ 5906510037
บทที่1
แนวคิดทฤษฏี นวัตฒกรรมและเทคโรโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
นวัตกรรม
ความหมาย
การนำแนวคิดหรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์หรือทำสิ่งแตกต่างการคนอื่น
นวัตกรรมการศึกษา
หมายถึง
การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปแบบความคิดหรือการกระทำ
ความสำคัญของเทคโนโลยีต่อการศึกษา
หมายถึง
การนำเอาเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ และนำมาแก้แก้ไขปัญหา
บทบาทของนวัตกรรมแลเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเทคโนโลยีเป็นสื่อการใช้เครื่องมือ
ทำให้ผู้เรียนสามารถเะรียนได้กว้างขวาง
ตั้งบนรากฐานทางวิทยาศาตร์
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความสามรถของผู้เรียน
หลักการทฤษฏี นวัตกรรมแลการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา
วิธีการสอนเชิงมนุษยวิทยา
วิธีการสอนเชิงระบบ
เทคโนโลยีทางการศึกษาในแง่การเรียนรู้
การถ่ายโยงที่ดี
หลักการจูงใจ
การให้รู้ผลการเรียนรู้ในการเรียนการสอน
ความชัดเจน ความสอดคล้อง
อัตราการเสนอสื่อ
ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลอันมีผลทำให้เกิดนวัตกรรม
ความพร้อม
การใช้เวลาเพื่อการศึกษา
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
การขยายตัวทางวิชาการ
บทที่ 2
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ [21]
แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่
ความหมาย
หลักการนี้จะนำมาสู่กำหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาตร์ต่อการจัดการเรียนรู้
ทักษะแห่งศตรรษที่ 21
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ
มาตรฐานศตวรรษที่ 21
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้
สร้างการเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่สนับสนุนความต้องการของมนุษย์และสภาพแวดล้อมตามสภาพ
สนับสนุนการเรียนรู้ชุมชนมืออาชีพ เพื่อการทำงานร่วมกัน
ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้งานที่เกี่ยวข้องในโลกศตวรรษที่ 21
เรียนรู้โดยใช้เครื่องมือเทคโนโลยีและทรัพยากรอย่างมีคุณภาพ
การประเมินผลการเรียนการสอนพัฒนาอาชีพ
ครูมีแนวทางการสอนและมีความสามารถสำหรับการบูรณาการทักษะในศวรรษที่ 21
การเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการทำโครงงาน
การพัฒนาความสามารถในการระบุตัวตนของนักเรียนโดยมีครูเป็นแบบเรียน
บทที่ 3
ห้องเรียนกลับด้าน
ห้องเรียนกลับด้าน
ความหมาย การเรียนแบบ พลิกกลับ เป็นวิธีการเรียนแนวใหม่ที่ฉีกจากตำราเรียนแบบเดิมๆ
ข้อดี
กำจัดข้อเสียของรูปแบบเดิม คือนักเรียนจะต้องเข้าใจในสิ่งที่อาจารย์พูดได้ทันที
การใช้วิดีโอจะทำให้นักศึกษาทำแบบที่ตัวเองต้องการและไม่กดดัน
ช่วยให้นักษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น
ช่วยยกระดับความสัมพันธ์และบรรยากาศในห้องเรียน
ข้อเสีย
เนื่องจาก Lectures ได้กลายเป็นวิดีโอให้นักเรียนกลับไปเรียนเอง อาจารย์จะต้องวางแผนล่วงหน้าเป็นสำคัญ
นักเรียนมีความถนัดเรียนรู้ด้วยตนเอง อาจจะไม่เข้าใจได้ดีนักเมื่อเรียนรู้ด้วยตนเอง
นักเรียนจะต้องทุ่มเทเป็นอย่างมากต้องศึกษาจากวิดีโอและสื่ออื่นๆมาล่วงหน้าจะทำให้นักเรียนมีความขยันมากขึ้น
รูปแบบกลับด้านนี้อาศัยเวลาและความรับผิดชอบมากเดิม
เทคโนโลยี
ความหมาย
การใช้เครื่องมือให้เหมาะกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา
เทคโนโลยีทางการศึกษา
หมายถึ
ง ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาครอบคลุมระบบการศึกษาขั้นสูง
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา