Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่ม 5 การพยาบาลผู้มีความผิดปกติทางจิต (การพยาบาลผู้ป่วย …
กลุ่ม 5 การพยาบาลผู้มีความผิดปกติทางจิต
การพยาบาลผู้ป่วย
ที่มีปัญหาทางบุคลิกภาพ
ClusterB
Dramatic-emotional
Borderline
ไม่มั่นคงอารมณ์ ภาพลักษณ์ต่อตนเองและ
ความสัมพันธ์ต่อผู้อื่น รวมทั้งไม่สามารถควบคุมอารมณ์
ของตนเองได้อย่างมาก
การพยาบาล
ให้มีการแสดงออกทางอารมณ์ที่เหมาะสม
ฝึกให้แสดงบทบาทสมมติ
Histrionic
Antisocial
บุคลิกภาพที่ไม่สนใจใยดี
ถึงกฎเกณฑ์ความถูกต้อง
เริ่ม15ปี 3ใน7อาการ
ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
หรือมาตรฐานของสังคม
การพูดโกหกซ้ำแล้วซ้ำอีก
หุนหันวู่วามไม่คิดไตร่ตรอง
หงุดหงิดและก้าวร้าว
ไม่ใส่ใจความปลอดภัยตนเองและผู้อื่น
ขาดความรับผิดชอบ ไม่ซื่อสัตย์ทางการเงิน
ไม่รู้สำนึกเสียใจต่อความผิดที่ทำ
การพยาบาล
ฝึกให้ตัดสินใจด้วยตนเอง
ส่งเสริมให้มีความมั่นใจในตนเอง
Narcissistic
ClusterC
ความวิตกกังวลอย่างสูง
Avoidant
Dependent
ยากที่จะตัดสินใจด้วยตนเอง
ไม่สามาถคิดโครงการ
หรือกิจกรรมได้
รู้สึกไม่สบายใจหรือหมดหนทาง
ช่วยเหลือตนเองเมื่อต้องอยู่คนเดียว
ต้องการความช่วยเหลือ
จากผู้อื่น
การพยาบาล
ร่วมกำหนดระเบียบข้อตกลง
ชมเชยเมื่อแสดงพฤติกรรมได้เหมาะสม
Obsessive-compulsive
ClusterA
มีพฤติกรรมแบบ
แปลกประหลาด
Schizoid
Schizotypal
Paranoid
การพยาบาลผู้มีความผิดปกติทางการกิน
Anorexia
ลดอาหารหรือควบคุมอาหาร
ทัศนคติรูปร่างไม่ถูกต้อง
ออกกำลังกายหนัก
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
สำคัญ ปรับทัศนคติต่อรูปร่างและความมีคุณค่าในตนเอง
Bulimia
กินมากเหมือนเดิม
วิธีลดไม่เหมาะ เช่น ออกกำลังกายอย่างหนัก ล้วงคอให้อาเจียน ยาระบาย
การพยาบาลผู้มีความผิดปกติทางเพศ
Sexual function disorder การเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาการตอบสนองทางเพศในระยะต่างๆ
Sexsual Desire Disorder ระยะตื่นตัว
Female Sexual Arousal Disorder ไม่ตอบสนองการตื่นตัวทางเพศ
Male Erectile Disorder ความผิดปกติการแข็งตัวอวัยวะเพศชาย
Hypoactive Sexual Desire Disorder ความต้องการทางเพศลดลง
Sexual Aversion Disorder รังเกียจการมีเพศสัมพันธ์
การพยาบาล
เพิ่มระยะเวลากระตุ้น
เปลี่ยนท่า
เปลี่ยนสถานที่
ใช้เครื่องมือช่วย
จัดการความเครียด
Organism Disorderi ระยะถึงจุดสุดยอด
Dyspareunia ปวดอวัยวะเพศ
การพยาบาล : ฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
Vaginismus เกร็งกล้ามเนื้อช่องคลอด
การพยาบาล : Kegel's exercise
Female/Male Organism Disorder ไม่บรรลุจุดสุดยอด, ถึงช้า
การพยาบาล : สำเร็จความใครด้วยตนเอง
Premature Ejeculation Sexual Pain Disorder การหลั่งน้ำอสุจิเร็ว
การพยาบาล : ใส่ถุงยางแบบหนา
Paraphalia ภาวะเบี่ยงเบนทางเพศหรือ กามวิปริ
Transexualism ไม่พอใจอวัยวะเพศตน ต้องการแปลงเพศ
Transvestism ตื่นตัวทางเพศเมื่อแต่งตัวและใช้ของเพศตรงข้าม
Fetishism ตื่นเต้นทางเพศกับสิ่งของเพศตรงข้าม เช่น ชุดชั้นใน
Frotteurism ตื่นเต้นทางเพศเมื่อใช้อวัยวะเพศเสียดสีกับเพศตรงข้าม
Exhibitionism ชอบโชว์อวัยวะเพศ
Voyeurism แอบมองผู้อื่นเปลือยกายหรือมีเพศสัมพันธ์ (ผู้ทำอายุ18 ปีขึ้นไป)
Pedophilia ชอบมีความสัมพันธ์ทางเพศกับเด็กไม่เกิน13 ปี (ผู้ทำอายุ 16 ปีขึ้นไป, > เด็ก อย่างน้อย 5 ปี
Masochism ตื่นเต้นทางเพศกับการชอบถูกทำร้าย ทรมานให้เจ็บปวด
Sadism ตื่นเต้นทางเพศกับการทำร้ายคู่นอนของตน
การพยาบาล
สะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ช่วยเหลือการปรับพฤติกรรมร่วมกัน
Gender identity disorder
การพยาบาล : เปิดเผยความรู้สึกต่อการแสดงออกทางเพศในทางที่เหมาะสม
สาเหตุ
ฮอร์โมนเพศ เพศตรงข้ามก่อนคลอดสูง
รูปร่างหน้าตา
พ่อแม่สนับสนุน
เด็กชายใกล้ชิดแม่ เด็กหญิงใกล้ชิดพ่อ เล่นกับเพื่อนเพศตรงข้ามตั้งแต่เด็ก
อาการ
ต้องการใช้ชีวิตแบบเพศตรงข้าม
ชอบแต่งตัวเป็นเพศตรงข้าม
อึดอัดไม่สบายใจกับเพศของตน
การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชเด็ก
ความปิดปกติด้านสติปัญญา
ภาวะปัญญาบกพร่อง(ID)
เป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นใน developmental period ทำให้ส่งผลกระทบทางความคิด สังคม การกระทำ
แบ่งประเภทความความรุนเเรง
mild
lส่วนใหญ่เรียนได้ถึง ป.6 หรือสูงกว่า
ถ้าเป็นผู้ใหญ่สามารถเเต่งงาน ดูเเลครอบครัวได้
moderate
จะมีข้อจำกัดในการสื่อสาร ทำกิจวัตรประจำวันมักจำทำภายได้การควบคุม
ต้องการการจัดการศึกษาพิเศษ ใช้ชีวิตการทำงานได้
severe
ล่าช้าทุกด้าน โดยเฉพาะด้านภาษา ปัญหารการเคลื่อนไหว ต้องดูเเลใกล้ชิด
สาเหตุ
กรรมพันธ์ุ ชีวภาพ สิ่งเเวดล้อม
การพยาบาล
จัดให้มีผู้ดูเเลเด็กอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
ฝึกทักษะการสื่อความหมาย สอนใช้ การเข้าใจ การพูดภาษา แต่ถ้าไม่พูดให้สอนด้วยท่าทาง เเต่ต้องสอนซ้ำๆ
อธิบายถึงพฤติกรรมเหมาะสม ไม่เหมาะสม จะใช้การปรับพฤติกรรมโดยเเรงเสริมทางบวกและทางลบ
โรคออติสติค
อาการ
พูดช้า หรือไม่พูดเลย ใช้ภาษาไม่มีใครเข้าใจ ไม่สามารถเรื่อมพูดหรือสนทนาต่อเนื่องได้ไม่มีการเล่นสมมติ มีความสนใจจำกัด ติดกปับการย้ำทำบางอย่างที่ไม่มีประโยชน์ ไม่ยืดหยุ่น
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับเด็ก ให้เกิดความไว้วางใจ
จัดหาของที่่คุ้นเคยให้เด็ก เพื่อให้รู้สึกมั่นคง
ช่วยเหลือเด็กในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
เมื่อเด็กสบตากับผู้อื่นจะให้เเรงเสริมทางบวก เช่นกอด สัมผัส
ความผิดปกติด้านสมาธิ
ภาวะสมาธิสั้น(ADHD)
อาการ
ซุกซน อยู่นิ่งไม่ได้ หุนหันพันเเล่น
การพยาบาล
ให้นั่งใกล้ครู ให้งานสั้น กำหนดเวลาทำงาน ชมเชยเมื่อทำงาน/กติกาที่วางไว้
พฤติกรรมเกเรคล้ายอันพาล(Conduct disorder)
อาการ
ก้าวร้าว ไม่ทำตามระเบียบในสังคม พูดปด ลักขโมย ฝ่าฝืนกฏระเบียบอบ่างร้ายเเรงติดต่ิกัน 12 เดือน พบในเด็กต่ำกว่า 18 ปี
การพยาบาล
เข้าใจพฤติกรรม
ปรับเปลี่ยนการเลี้ยงดู
กำหนดพฤติกรรม/ขอบเขต ข้อตกลงร่วม
ให้กำลังใจเมื่อพฤติกรรมเหมาะสม
การพยาบาลผู้ติดสารเสพติด
Alcohol
Alcohol intoxication
เพิ่งดื่ม พฤติกรรมเปลี่ยน
อาการมากกว่า 1
พูดไม่ชัด อ้อแอ้Slurred speech
ประสานงานกล้มเนื้อไม่ดี Impaired coordination
เดินเซ สะเปะสะปะ unsteady gait
ลูกตากระตุก Nystagmus
เสียความทรงจำและสมาธิ
หมดสติ ไม่รู้สึกตัว Coma
Alcohol withdrawal
หยุดหรือลด หลังดื่มมามากและนาน
มีมากกว่า/เท่ากับ 2
เหงื่อออก HRและBPมากขึ้น
มือสั่น
นอนไม่หลับ Insomnia
N/V
Visual tactile or auditory hallucination or illusion
ประเภทของสารเสพติด
สารกล่อมประสาท (sedative)
ออกฤทธ์ : กดระบบประสาทส่วนกลางทำให้สมอง หัวใจ ไต ตับ และอัตราการเผาพลาญของร่างกายลดลง
อาการเป็นพิษ : มีความต้องการทางเพศมากขึ้น ก้าวร้าว
อาการถอนยา : เหงื่อออก ชีพจรเต้นเร็ว มือสั่น คลื่นไส้อาเจียน
สารกระตุ้นประสาท (Stimulants)
ตื่นตัว ไม่รู้จักเหนื่อย
อาการเป็นพิษ
แรกๆอารมณ์ดี หลังๆวิตก ก้าวร้าว
อาการถอนยา
เมื่อยล้า นอนไม่หลับ หลับมาก ซึมเศร้า
สารในกลุ่มฝิ่นและอนุพันธ์ของฝิ่น (Opiods)
การออกฤทธิ์ : ผ่อนคลาย, บรรเทาปวด ลดอาการไอ
อาการเป็นพิษ : ศูนย์หายใจถูกกด รูม่านตาหด
อาการถอนยา : อารมณ์ไม่ดี หงุดหงิด N/V เหงื่อออก นอนไม่หลับ (ภายใน 6-24 ชม.)
สารหลอนประสาท (Hallucinogens)
การออกฤทธิ์ : กระตุ้นประสาทส่วนการรับรู้ เห็นภาพหลอน ตื่นกลัว
อาการเป็นพิษ : วิตกกังวล ซึมเศร้า หวาดระแวง ประสาทหลอน
อาการถอนยา : พบในกรณีใช้เป็นเวลานาน หากหยุดใช้ อาการจะหายไปอย่างรวดเร็ว
สารระเหย (inhalants)
ออกฤทธิ์ : เข้าปอด ผลต่อสมอง การรับรู้ผิด
อาการเป็นพิษ : ครื้นเครง อาจเสียชีวิตจากหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ ศูนย์การหายใจถูกกด เจ็บหน้าอก กระตุก ชัก
อาการถอนยา : ไม่มี แต่ทำลายระบบประสาทถาวร