Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มะเร็งหลังโพรงจมูก
Nasopharyngeal carcinoma
E676DCEE-8D7D-42D2-8E55…
มะเร็งหลังโพรงจมูก
Nasopharyngeal carcinoma
สาเหตุ
-
ทฤษฎี
พันธุกรรม สาเหตุมะเร็งโพรงจมูกอาจจยังไม่ทราบชัด แต่หากมีพ่อแม่ ญาติพี่น้อง เป็นมะเร็งโพรงจมูก อาจมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นได้มาก โดยเฉพาะคนจีน หรือ คนไทยเชื้อสายจีน ยิ่งมีโอกาสสูง เพราะ พบว่ามะเร็งหลังโพรงจมูกมีความชุกสูงเฉพาะในประเทศจีนตอนใต้
มลพิษ เช่น ฝุ่นละออง ควันบุหรี่ ควันพิษ ท่อไอเสีย สารเคมีต่าง ๆ อาจเป็นปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเกิดมะเร็งหลังโพรงจมูก
เชื้อไวรัส ไวรัสเอปสไตน์บาร์ (Epstein-Barr virus - EBV) อาจเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิด มะเร็งหลังโพรงจมูก โดยศึกษาพบว่าผู้ป่วยมะเร็งหลังโพรงจมูกจะมีสารภูมิคุ้มกันต่อไวรัสชนิดนี้ ในปริมาณที่สูงกว่าคนทั่วไป
อาหาร พบว่าในมณฑลกวางตุ้งซึ่งมีอุบัติการณ์ของมะเร็งหลังโพรงจมูกในอัตราสูงนั้น ประชาชนนิยมบริโภคปลาหมักเค็มกันมากกว่าจีนส่วนอื่น
เพศ ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างประเทศไทยด้วย โดยโรคนี้มักพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิงประมาณ 2 เท่า
พยาธิสภาพ
-
-
1.Type (keratinizing squamous cell carcinoma)
ผู้ป่วยมะเร็งหลังโพรางจมูกในชาวอเมริกาตอนเหนือแต่พบเพียงร้อยละ
1-2
ของประชาชนในแหล่งชุกชมของมะเร็งพบประมาณร้อยละ 25 ของ
-
-
-
การวินิจฉัย
ทฤษฏี
การตรวจร่างกาย
แพทย์จะนำกระจกส่องผ่านทางปากเพื่อส่อง ดูหลังโพรงจมูกและ
ภายในลำคอ, การตรวจร่างกายทางระบบประสาท
ใช้กล้องส่องทางจมูก (Nasoscopy) ) โดยสอดกล้องเป็นสายยาวเล็กๆ ผ่านทางจมูก และมีเครื่องมือ
สามารถเอาชิ้นเนื้อที่สงสัยว่าเป็นมะเร็งออกมาตรวจทางพยาธิวิทยา
-
เอกซเรย์กระดูก (Bone scan) ทำในผู้ป่วยมีอาการปวดบริเวณกระดูกหรือผลเลือดทาง
ห้องปฏิบัติการ บ่งชี้ว่ามีการแพร่กระจายไปยังกระดูก
-
-
เพ็ทสแกน (PET scan) ตรวจหามะเร็งโดยใช้สารกัมมันตรังสีฉีดเข้าเส้นเลือดดำ แล้วทำการสแกน พบว่าบริเวณที่เป็นมะเร็งจะสว่างขึ้นมา
-
-
-
-
การรักษา
การบำบัดด้วยรังสี (Radiation Therapy)
เป็นการรักษาโดยใช้รังสีพลังงานสูงในการฆ่าเซลล์มะเร็ง ลดขนาดเนื้องอกก่อนการผ่าตัดหรือทำลายเนื้องอกเล็กน้อยที่อาจหลงเหลือหลังจากการผ่าตัด
การใช้เคมีบำบัด (Chemotherapy)
ใช้เพื่อลดความเสี่ยงจากการกลับมาของมะเร็งหลังผ่าตัดโดยการลดขนาดหรือชะลอการเติบโตของเนื้องอก
การดูแลตามระยะของโรค
ระยะที่ 1 ระยะ early T1-2, N0, M0 (stage I, II) ดูแลโดยการฉายรังสีอย่างเดียว
ระยะที่ 2 ดูแลโดยการฉายรังสีอย่างเดียวในกรณีที่ไม่มีต่อมน้ำเหลืองและไม่กระจายเข้า parapharyngeal space
ถ้ามีอย่างใดอย่างหนึ่งควรเพิ่มเคมีบำบัดพร้อมกับการฉายรังสี
-
ระยะที่ 4 ที่มีการกระจายไปที่อื่น ให้เคมีบำบัดร่วมกับการดูแลตามอาการในกรณีที่ผู้ป่วยสภาพร่างกายดี ถ้าสภาพร่างกายไม่ดีให้ดูแลเฉพาะเมื่อมีอาการ
การผ่าตัด
การผ่าตัดมะเร็งโพรงจมูกทำได้ทั้งผ่าตัดแบบเปิดและผ่าตัดส่องกล้อง มักทำในกรณีที่เนื้องอกอยู่ในระยะแรก ๆ ยังกระจายตัวไม่มาก แพทย์อาจใช้การผ่าตัดเพื่อลดอาการปวดหรืออาการต่าง ๆ โดยกำจัดเนื้องอกที่ขัดบริเวณโพรงจมูกและโพรงอากาศของจมูกออก รวมไปถึงการกำจัดเอาเนื้อเยื่อปกติบริเวณรอบ ๆ ออกไปด้วยในบางกรณี
ยา
ยาเคมีบำบัด
5-fluorouracil,Epirubicin
ตัวยาจะเข้าไปแทนที่ในสายพันธุกรรมส่งผลให้เกิดยับยั้งการสร้างสายพันธุกรรมซึ่งออกฤทธิ์ได้ในทุกระยะของวงจรการแบ่งเซลล์
ผลข้างเคียง
เนื่องจากยาออกฤทธิ์ทำลายสารพันธุกรรมทำให้เกิดการทำลายไขกระดูกได้ในระยะยาว และมีโอกาสที่จะทำให้เกิดมะเร็ง เม็ดเลือดขาวได้โดยความเสี่ยงแปรผันตามปริมาณยาที่ผู้ป่วยได้รับ ทำให้เม็ดเลือดขาวซึ่งมีหน้าที่ต่อต้านเชื้อโรคลดจำนวนลง ผู้ป่วยจึงติดเชื้อได้ง่าย
การพยาบาล
1.ควรหลีกเลี่ยงการเข้าใกล้หรือคลุกคลีกับบุคคลที่ติดเชื้อ
2.ไม่ควรอยู่ในที่แออัดหรือมีคนมากๆ
3.รับประทานอาหารที่ต้มสุกแล้ว
4.รับประทานอาหารที่ช่วยบำรุงเลือด เช่น เนื้อสัตว์ ไข่แดง ผักใบเขียว
Carboplatin
รบกวนการสร้างสาย DNA มีผลทำให้เซลล์ตาย
ผลข้างเคียง คลื่นไส้อาเจียน อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว ยานี้อาจทำให้เกล็ดเลือดต่ำ เลือดออกง่ายและหยุดยาก
การพยาบาล
ควรเพิ่มความระมัดระวังเมื่อใช้ของมีคม
Cisplatin
ออกฤทธิ์โดยไปยับยั้งการจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ ใช้ในการรักษาโรงมะเร็งต่างๆ
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน พบในช่วง 2-3 ชั่วโมง หลังได้รับยา และอาจต่อเนื่องไปอีก 2-3 วัน
การพยาบาล
รับประทานอาหารและดื่มน้ำในปริมาณที่น้อยๆแต่บ่อยครั้ง
-
-
-
-
กรณีศึกษาที่ 1
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 47 ปี ไม่มีโรคประจำตัว ปฏิเสธการแพ้และอาหาร มีประวัติการสูบบุหรี่มาประมาณ 20 ปี ดื่มสุราบ้างเวลาออกงานสังสรรค์ ขณะนี้หยุดสูบบุหรี่มาประมาณ 6 เดือน ให้ประวัติว่า 8 เดือนก่อน มีอาการหูข้างซ้ายเอื้อตลอดเวลาร่วมกับมีก้อนบริเวณลำคอข้างซ้ายขนาดประมาณ 0.5 x 1 cm. คล่ำไม่เจ็บ แพทย์ให้ยากลับไปรับประทานที่บ้านและสังเกตอาการ 4 เดือนต่อมา ผู้ป่วยเจ็บในช่องปากและคอมาก Pain score=8 ก้อนที่คอโตมากขึ้นขนาด 5.3 x 2.1 x 4.2 cm. นำ้หนักลด 10 kg.แพทย์วินิจฉัยเพิ่มโดยการทำ Biopsy ผลเป็น Non-keratinized carcinoma มี cervical lympnode at left neck ขนาด 5 x 6 cm.
-
-
-