Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 9 ไข้รูห์มาติก (Valvular heart disease ฟังเสียงหัวใจพบ…
กรณีศึกษาที่ 9 ไข้รูห์มาติก
Valvular heart disease ฟังเสียงหัวใจพบ Systolic/diastolic murmur ที่
บริเวณ Apex, no pericardial rubs
Heart failure
Right ventricular failure ตรวจพบ Jugular venous distension (หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง) สัญญาณชีพ T=36.3 C, PR=102-120 ครั้ง/นาที irregular, RR=24-32 ครั้ง/นาที, BP= 139/82 มม.ปรอท O2 sat=92% เท้าบวมระดับ +2
Forwardeffect ผลย้อนกลับด้านหน้า
หัวใจห้องล่างขวาบีบตัวได้น้อยลง
เลือดจากปอดที่จะไปหัวใจซีกซ้ายลดลงเช่นกัน
ผลทำให้ปริมาตรของเลือดที่หัวใจบีบออกไปเลี้ยงร่างกายลดลง
จะแสดงอาการเหมือนหัวใจซีกซ้ายล้มเหลว
เลือดไหลไปยังปอดได้น้อยลง
ทำให้มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือด Systemic congestion
กลไกลในการรักษาสมดุลของน้ำและโซเดียมที่ไตและตับเสียหน้าที่
ทำใหมีน้ำคั่งตามเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณขา
backward effect ผลย้อนกลับด้านหลัง
อาการและอาการแสดง
บวมตามขา ข้อเท้า เนื่องจากมีการคั่งของน้ำ
เ
หนื่อยหอบ เนื่องจาก Cardiac output ลดลง
การเเลกเปลี่ยนอากาศออกวิเจนและคาร์บอนได๋ออกไซด์ที่ปอดลดลง
เล้นเลือดที่คอโองดป่งพอง เนื่องจากความดันในหลอดเลือดดำสูง
Left ventricular fallure ตรวจ Chest X- ray พบPulmonary congestion(ภาวะเลือดคั่งในปอด) , ฟังเสียงปอดbasilar crackles ทำอัลตราซาวด์ ejection farction (LVEF) =30%
Forwardeffect ผลย้อนกลับด้านหน้า
เลือดออกจากหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง
เนื้อเยื่อต่างๆของร่างกายได้รับเลือดไม่เพียงพอโดยเฉพาะที่ไต
ระบบ renin-angiotemnsin- aldosterone ststem
จะเพิ่มการดูดกลับของน้ำและโซเดียมที่ไต
ปัสสาวะออกน้อยลง
ทำให้น้ำในระบบไหลเวียนเพิ่มมากขึ้น
ความดันโลหิตสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็ว
1 more item...
Ejection fraction ลดลง
Left ventricle preload เพิ่มขึ้น
Left atrial pressure เพิ่มขึ้น
Pulmonary pressure เพิ่มขึ้น
Right ventricle afterload เพิ่มขึ้น
Right ventricular hypertrophy
3 more items...
backward effect ผลย้อนกลับด้านหลัง
Congestive Heart Failure
หัวใจข้างขวาล้มเหลว Right-sided heart failure
มีอาการหัวใจเต้นเร็ว การเต้นของชีพจรเบาบ้างแรงบ้างสลับกัน ผิวหนังเย็นและชื้นเนื่องจากหลอดเลือดหดตัว ความดันซิสโตลิกลดลังแต่ความดันไดแอสโตลิกสูงขึ้น ฟังหัวใจได้ยินเสียงสาม หรือเสียงคล้ายม้าควบ ะได้ยินชัดเจนบริเวณลิ้นไมตรัล เสียงนี้เกิดจากมีแรงต้านขณะเลือดถูกส่งเข้าสู่ใจห้องล่าง ผู้ปว่ยจะมีอาการทางสมอง เช่น กระสับกระส่าย สับสน ความจำเสื่อม ฝันร้าย วิตกกังวล นอนไม่หลับ งุนงง เป็นลม หมดสติ เป็นต้น มีอาการเหนื่อยล้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ไม่สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ตามปกติ มีปัสสาวะออกน้อย มีอาการบวมตับโต ม้ามโต ลำไส้บวม มีอาการแน่นจุกเสียดบริเวณใต้ชายโครงหรือลิ้นปี เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องมาน หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง ปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน
หัวใจข้างช้ายล้มเหลว (Left-sided heart failure)
แสดงออกแบ่งเป็น 4 ระดับ คือ
Garde 2 สุขสบายเมื่อพัก แต่ถ้ามีกิจกรรมตามปกติจะเกิดอาการของภาวะหัวใจวาย
Garde 3 สุขสบายเมื่อพัก แต่ถ้ามีกิจกรรมตามปกติเพียงเล็กน้อยจะเกิดอาการของภาวะหัวใจวาย
Garde 1 ไม่มีอาการผิดปกติ ทนต่อการทำกิจกรรมของร่างกายในแต่ละวันได้
ดี
Garde 4 แม้ขณะพักก็มีอาการของภาวะล้มเหลว มีปัสสาวะออกน้อย (oliguria) มีอาการเหนื่อยง่ายเมื่อออกแรง (Dyspnea on exertion) หอบในท่านอนราบ (Orthopnea) หอบเป็นพักๆ ช่วงกลางคืน (Paroxysmal nocturnal dyspnea; PND) อาจมีอาการหายใจแบบเชนสโต๊ก (Cheyne-Stokes respiration) มีภาวะปอดบวมน้ำ (Pulmonary edema) ทำให้มีอาการหอบเหนื่อยร่วมกับมีเสมหะเป็นฟองสีชมพู ฟังเสียงหายใจ (Creptation) ชัดเจน มีอาการได้ยินเสียงหวีด (wheeze) และเสียงกรอบแกรบ ไออาจมีเลือดปน อาจมีอาการเขียวคล้ำ
สาเหตุ
Congestive heart failure มีสาเหตุจากโรค mitral stenosis, aortic stenosis, chronic MR, chronic AR,
**ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1 ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความสามารถในการบีบตัวของหัวใจลดลง
1.ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อสังเกตอาการที่เปลี่ยนแปลงบ่งบอกถึงการกำซาบเลือดของหัวใจและปอดลดลง
2.จัดท่านอนศรีษะสูง (High fowler's position) เพื่อลดปริมาตรเลือดที่ไหลกลับสู่หัวใจ ลดการทำงานของหัวใจและทำให้หายใจได้สะดวกมากขึ้น
3.แนะนำงดการออกแรงทันทีทันใด เช่นการเบ่งถ่าย ใช้ Bedside commode ดูแลให้ยาระบาย
4.เฝ้าระวังคลื่นไฟห้าหัวใจ เพื่อเฝ้าระวังการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
ดูแลให้ยา digoxin 0.5 mg IV stat ตามแผนการรักษาของแพทย์
6.ดุและให้ได้รับยา Dobutamine 1 gm ใน D5W 250 ml.(4:1) iv 5 Microgram/kg/min ตามแผนการรักษาของแพทย์
7.Absolute bed rest และกิจกรรมต่างๆ เพื่อลดคงามต้องการใช้ออกซิเจนของกล้ามเนื้อ
8.ดูแลให้ออกซิเจน nasal cannula 3-5 ลิตร/นาที เพื่อเพิ่มความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดและลดการทำงานของหัวใจ**
**ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 มีภาวะสารน้ำคั่งในร่างกายเนื่องจากประสิทธิภาพการกรองของไตลดลงจากภาวะหัวใจล้มเหลว
1.ประเมินภาวะโซเดียมต่ำ ได้แก่ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เป็นตะคริว กล้ามเนื้ออ่อนแรง ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง และอาการน้ำเกิน เช่น หายใจเหนื่อย นอนราบไม่ได้ บวมกดบุ๋มบริเวณแขน ขา ชัก อาการบวมโดยการตรวจ Pitting edema
2.จำกัดน้ำโดยแบ่งน้ำดื่มเป็นทุก8 ชั่วโมงตามความ เหมาะสม
3.บันทึกจำนวนสารน้ำที่ได้รับและจำนวนปัสสาวะที่ออกจากร่างกายทุก8 ชั่ว โมงเพื่อประเมินความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
4.แนะนำให้งดอาหารที่เค็มจัด และรับประทานอาหารอ่อน
ชั่งน้ำหนักทุกวันเพื่อเปรียบเทียบในเวลาเดียวกัน บันทึกอาการบวมโดยกดบริเวณหน้าแข้งทุกวันเพื่อติดตามอาการเปลี่ยนแปลง
6.จัดท่านอนศรีษะสูง (High fowler's position) และห้อยขาลงพื่อลด venous return
7.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Lasix 40 mg iv push then 250 mg iv drip in 24 hrs ตามแผนการรักษา และเฝ้าระวังภาวะโปรแตสเซียมต่ำความดันในเลือดต่ำหลังให้ยา**
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3 มีภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน เนื่องจากปริมาณเลือดที่สูบฉีดออกจากหัวใจใน 1 นาทีลดลง และประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลง
1.ประเมินสัญญาณชีพเพื่อเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงภาวะพร่องออกซิเจน เพราะหลอดเลือดหัวใจตีบแคบหรืออุดตัน จะทำให้หัวใจขาดเลี้ยงไปเลี้ยง ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจและหัวใจลดลง
2.ประเมินลักษณะการหายใจเพื่อประเมินอาการพร่องออกซิเจนจากการหายใจหอบเหนื่อย
3.สังเกตลักษณะผิวหนัง เช่น ซีด ริมฝีปากเขียวคล้ำ ปลายมือปลายเท้าเขียว เพื่อประเมินภาวะขาดออกซิเจนและอาการ cyanosis
4.จำกัดกิจกรรม bed rest เพื่อลดการใช้ออกซิเจนและให้หัวใจทำงานลดลง
5.ดูแลให้ O2 cannula 3-5 LPM keep O2Sat>95% เพื่อให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอและป้องกันภาวะพร่องออกซิเจน
ตรวจ Echocardiogram พบ moderate MR
ลิ้นหัวใจรั่ว (Mitral regurgitation)
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
**เลือดไหลย้อนจากหัวใจห้องล่างซ้ายขึ้นไปห้องบนขวา
ทำให้ความดันในห้องหัวใจห้องบนขวาสูงขึ้น
ทำให้ความดันในระบบไหลเวียนปอดเพิ่ม และหัวใจล้มเหลว
ลิ้นหัวใจที่ปิดไม่สนิททำให้มีปริมาณเลือดเพิ่มขึ้นในหัวใจห้องล่างซ้าย
ตรวจEchocardiogram พบ severe MS
ลิ้นหัวใจตีบ (mitral stenosis)
เลือดจากหัวใจห้องบนซ้ายไหลลงห้องล่างซ้ายลำบาก
ทำให้ความดันในห้องหัวใจบนซ้ายสูงขึ้น ส่งผลให้ระยะต่อมาจะมีการเพิ่มขึ้นของความต้านทานในระบบไหลเวียนเลือดที่ปอด
เกิดภาวะความดันหลอดเลือดปอดสูง (pulmonary hypertension)และปอดบวมน้ำ (pulmonary congestion)
เลือดที่ไหลเข้าจะลดลงทำให้มีปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงร่างกาย (cardiac output) ลดลง
อุบัติการณ์
ไข้รูห์มาติกเป็นภาวะแทรกซ้อนของคออักเสบหรือทอนซิลอักเสบ จากเชื้อแบคทีเรีย beta-hemolytic Streptococcus group A เชื้อโรคตัวนี้จะกระตุ้นให้ร่างกายมีปฏิกิริยาตอบโต้ ก่อให้เกิดการอักเสบของอวัยวะต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งคือข้ออักเสบและหัวใจอักเสบที่สำคัญคือ ถ้าหากมีการอักเสบของหัวใจ และปล่อยปละละเลยนานๆ ก็จะทำให้ลิ้นหัวใจรั่วหรือตีบ หัวใจ ทำหน้าที่สูบฉีดไม่ได้เต็มที่ คนไข้ต้องทนทุกข์ทรมานจากอาการเหนื่อย หอบง่าย หรือหัวใจวายเรื้อรังได้ ความพิการของหัวใจที่เกิดจากไข้รูมาติกนี้ มีชื่อเรียกเฉพาะว่า
*
“โรคหัวใจรูมาติก
"
*
(rheumatic heart disease)