Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้เทคโนโยลีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ (มารยาทในการติดต่อสื่อสาร…
การใช้เทคโนโยลีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
มารยาทในการติดต่อสื่อสาร
มารยาทในการใช้อีเมล
-ใช้ภาษาสุภาพ ชัดเจน ตรงประเด็นเหมาะสมกับกาลเทศะ
-ใช้อักษรตัวหนาเฉพาะข้อความที่มีความต้องการเน้นเท่านั้น
-ระบุหัวเรื่อง ชื่อผู้ที่จะสื่อสารด้วย และระบุตัวตนของผู้ส่งอีเมลให้ชัดเจน(เหมือนการเขียนจดหมายในกระดาษ)
-ระบุชื่อหรือตำแหน่งของผู้ที่จะสื่อสารให้ถูกต้องและเหมาะสม
-เนื้อหาในอีเมลไม่ควรมีข้อความแสดงถึงเจตนาไปในทางเสื่อมเสีย ไม่ใช่ข้อความที่กำกวมที่แสดงการตำหนิ ดูถูก ใสร้ายผู้อื่นให้ได้รับความเสียหาย
-หลีกเหลี่ยงการส่งอีเมลและการแนบไฟล์ที่มีขนาดใหญ่
-ไม่ลักลอบส่งอีเมลโดยการปลอมแปลงชื่อผู้ส่งที่ทำให้ผู้รับเข้าใจผิด
-ไม่ส่งจดหมายลูกโซ่เช่นอีเมลลวงให้ส่งต่อไปหลายๆคนแล้วจะได้รับประโยชน์
-ไม่ส่งอีเมลขายสินค้า โฆษณา หรือข้อความรบกวนผู้รับ
มารยาทในการใช้แชทและเครือข่ายสังคม
1.ไม่ใช้ขอความที่เป็นชนวนก่อให้เกิดปัญหาระหว่างบุคคลและกลุ่ม
3.ไม่สวมรอยหรือแอบอ้างโดยใช้ชื่อบุคคลอื่นในการแชท แสดงความคิดเห็น หรือทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหายเพราะเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย
4.ไม่ใช่ถ้อยคำยั่วยุหรือท้าทาย เพื่อแสดงความเห็นหรือความคิดที่ขัดแย้งกับผู้อื่น
2.หลีกเลี่ยงการใช้อารมหณ์หรือความรู้สึกที่มากจนเกินไปทั้งในการอ่านหรือแสดงความคิดเห็น
แนวทางปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม
1.) ปฏิเสธการรับข้อมูล สามารถทำได้โดย ไม่เปิดดู ไม่บันทึกเก็บไว้ และไม่กดไลค์ เพราะการกระทำเหล่านี้เป็นแนวทางป้องกัน ไม่ให้ข้อมูลดังกล่าวเผยแพร่ไปสู่ผู้อื่น
2.) ไม่ส่งต่อ ไม่แชร์ ไม่เผยแพร่ เพราะนอกจากจะทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนกับข้อมูลที่ไม่เป็นความจริงแล้ว ในบางกรณีอาจเข้าข่ายผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ซึ่งมีโทษทั้งจำและปรับ
3.) แจ้งครูหรือผู้ปกครอง หากนักเรียนประสบปัญหา ที่ไม่สามารถจัดการหรือแก้ไขได้เอง ให้เเจ้งครูหรือ ผู้ปกครอง เพื่อดำเนินการแก้ไข หรือติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อป้องกัน ไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำเดิมไม่สิ้นสุด
4.) เเจ้งผู้เกี่ยวข้องที่ดูแลเว็บไซต์นั้น กรณีที่ใช้งานข้อมูลจากผู้ให้บริการระบบรายใหญ่ เช่น Facebook Youtube
ซึ่งผู้ใช้เหล่านี้เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถ รายงานปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมได้ เช่น เนื้อหาที่มีการคุกคามทางเพศ เป็นต้น
หลังจากผู้ให้บริการได้รับแจ้ง จะมีการตรวจสอบเนื้อหา ดังกล่าวอย่างถี่ถ้วน และดำเนินการกับผู้ผิด
5.) เเจ้งเจ้าหน้าที่รัฐหรือตำรวจ หากผู้ดูแลระบบไม่จัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น ให้ประสานงานกับหน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่รับผิกชอบโดยตรง
ผลกระทบการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
ผลกระทบต่อผู้เผยแพร่
1.รู้สึกผิดกับการกระทำของตนเองหรือรู้สึกเสียใจเมื่อผู้อื่นมีพฤติกรรมเลียนแบบการกระทำที่ไม่เหมาะสมของตนเอง โดยไม่ได้ไตร่ตรองให้ถี่ถ้วน
2.ถูกสังคมลงโทษ ได้รับการประณามหรือเกลียดชัง
3.ได้รับโทษ เนื่องจากข้อมูลเหล่านั้นอาจผิดระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือกฎหมาย ทำให้เสียเวลา และเสียค่าใช้จ่ายจากการดำเนินคดีตามกฏหมาย
ผลกระทบที่ผู้อื่นได้รับการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
1.เสียใจ ทำให้เกิดความรู้สึกอับอายไม่ปลอดภัย กลัว รู้สึกไม่มั่นคง มีบาดแผลทางจิตใจ ได้รับความเกลียดชัง สูญเสียการยอมรับจากผู้อื่น
3.ได้ผลกระทบด้านการใช้ชีวิตประจำวันครอบครัวเดือดร้อน ถูกประณามจากสังคม
2.อาจถูกให้ออกจากงานเพราะบริาัทเกิดความเข้าใจผิดจากข้อมูลที่ได้รับเสียผลประโยชน์ทาวธุรกิจ เช่น ผู้แสวงหาผลประโยชน์ หรือคู่แข่งท่งธุรกิจ โฆษณาชวนเชื่อเพื่อสร้างความเสียหายให้กับธุรกิจคู่แข่ง