Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาการวิทยา
(Symptomalogy) (ความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว…
อาการวิทยา
(Symptomalogy)
1.ลักษณะร่างกายผิดปกติ
เช่น อาการซูบผอมร่วมกับประวัติบางอย่าง เช่นน้ำหนักลดพบได้ในโรคทางกาย โรคจิตเภทเรื้อรัง โรคอารมณ์แปรปรวน ประเภทซึมเศร้า การติดยาและสารเสพติด เป็นต้น
2.สีหน้าและท่าทาง
ผู้ป่วยจะมีอาการระแวงมักแสดงสีหน้าไม่เป็นมิตร สงสัยไม่แน่ใจและภาวะซึมเศร้าผู้ป่วยจะมีอาการ ก้มหน้าไหล่ลู่และหลังค่อมใบหน้าเศร้า
3.การเคลื่อนไหวผิดปกติ ต้องแยกให้ออกว่าเป็นผลมาจากความผิดปกติทางจิตที่มีอาการกำเริบมากขึ้นหรือจากฤทธิ์ข้างเคียงจากยารักษาโรคจิต
4.การแต่งกาย สกปรกไม่โกนหนวดเครา เล็บยาวดำพบบ่อย ในผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง บางรายแต่งหน้าจัดสวมเครื่องประดับมากเกินจนดูประหลาด ฯลฯ
- ความผิดปกติของระดับการรู้สึกตัว
(Disturbance of consciousness)
-
-
-
dream – like state คือ การนึกคิด หรือ ความฝันที่ชัดเจน โดยไม่ได้หลับอยู่ถ้าเป็นอยู่นาน มักมีลักษณะประสาทหลอนร่วมด้วยเรียกว่า twilight state
-
-
delirium คือ อาการเพ้อ เป็นกลุ่มอาการที่พบอาการกระสับกระส่าย สับสน พบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคพิษสุราและกลุ่มอาการทางสมองเหตุพยาธิสภาพทางกาย
-
-
- ความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (Disturbances in Movement)
-อาการสั่น (tremors) สั่นในผู้ที่วิตกกังวล เหนื่อยล้า (fine tremor) โรคสั่นและเพ้อจากพิษสุรา (coarse)
-
-อาการเคลื่อนไหวชนิด (Tardive dyskinesia)ปากยื่นคล้ายจีบเคี้ยว หรือดูดปาก หรือขมุบขมิบ คอเกร็ง
บิดเบี้ยว หรือแหงนหงาย ข้อมืองอบิดม้วน
-
-
-
-การเคลื่อนไหวมากเกิน (Over activity) มีอารมณ์พลุ่งพล่านร่วมกับการเดินไปมาตลอดเวลา ทำอะไรดูเหมือนว่องไว รวดเร็ว บางครั้งลุกลี้ลุกลน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
- ความผิดปกติของความคิด (Disturbance of thought)
-
-
-
- ความผิดปกติของการรับรู้
(Disturbance of perception)
การรับรู้ (perception) เป็น physical stimulation ผ่านอวัยวะรับสัมผัส
ได้แก่ auditory (ทางหู), visual (ทางสายตา) , tactile , gustatory (การรับรส) และ olfactory (การดมกลิ่น) ไปเป็นข้อมูลทางจิตใจ
-
- Hallucination เป็นการรับรู้โดยไม่มีสิ่งเร้าภายนอก
3 ความผิดปกติเหตุจากพยาธิสภาพทางสมอง เช่น การปฏิเสธความเจ็บป่วยไม่รับรู้ว่าตนมีอวัยวะอยู่ การไม่รู้จักบุคคล หรือวัตถุที่คุ้นเคยมาก่อน เป็นต้น
- ความผิดปกติด้านการรับรู้เฉพาะอย่าง เช่น
อาการชา เห็นภาพวัตถุเล็กหรือใหญ่กว่าสภาพที่เป็นจริง
- ความผิดปกติด้านความจำ (Disturbance of memory)
-
- amnesia คือ จำไม่ได้อาจมีสาเหตุทั้งจาก
ร่างกายและจิตใจ
- par armnesia คือ การเสียความจำจากการ recall ไม่ได้
-
-confabulation : ผู้ป่วยจำไม่ได้บางช่วงจึงใส่เรื่องราวใหม่ลงไปโดยผู้ป่วยไม่ทราบว่าสิ่งนั้นไม่ถูกต้อง
-
-
-
- ความผิดปกติด้านเชาว์ปัญญาหรือสติปัญญา (Disturbance of intelligence)
-
4.2 ภาวะสมองเสื่อม (Dementia) หมายถึง ภาวะของการที่สมองซึ่งเคยเป็นปกติมาก่อน แล้วเกิดเสื่อมไปอาจสาเหตุจากโรคทางสมองไม่ได้ใช้งานนาน ๆ เช่นในผู้ป่วยโรคจิตเภทเรื้อรัง
-
- ความผิดปกติของการหยั่งรู้แห่งตน (Disturbance of insight)
การหยั่งรู้แห่งตน (Insight) คือการรู้จักตนเอง ยอมรับว่าตนเองป่วย ผู้ที่มี Insight ดี พบว่าจะทำให้ผู้ป่วย ยอมรับความเจ็บป่วย บำบัดรักษาได้ดีกว่าผู้ที่ Insight ไม่ดี
-
10.2 true insight (emotional insight): ความสามารถในการเข้าใจจิตใจและสิ่งต่างๆร่วมกับมีแรงจูงใจและความสามารถในการจัดการกับเหตุการณ์และสภาพจิตใจได้