Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Disaster nursing การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ (DISASTER paradigm (D –…
Disaster nursing
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
คำจำกัดความ
ภัยพิบัติ(Disaster)
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือโดยมนุษย์อย่างทันที
ทำให้ระบบการดูแลรักษาที่มีอยู่เดิมชะงักลงหรือเพิ่มความต้องการในการปฏิบัติงานขององค์กร”
เหตุการณ์เช่นเดียวกันแต่เกิดในที่ห่างไกลหรือชนบทซึ่งอาจถือว่าเกินกำลังของโรงพยาบาลแห่งนั้นและต้องการความช่วยเหลือจากนอกโรงพยาบาล
(Disaster = Need > Resource)
อุบัติภัยหมู่ (mass casualty incident,MCI)
ตามนิยามของ JCAHO หมายถึง เหตุการณ์ที่มีผู้บาดเจ็บเกิดขึ้นจำนวนมากจนต้องระดมกำลังความช่วยเหลือจากทุกแผนกในโรงพยาบาลโดยอาจจำต้องส่งต่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลอื่นทั้งในและนอกจังหวัด
Healthcare Needs >Resource
DISASTER paradigm
D – Detection*
เป็นการประเมินสถานการณ์ว่าเกินกำลังที่เรามีหรือไม่
มีdisaster หรือ MCI เกิดขึ้น
มีการตรวจพบสารอันตรายหรือไม่
ทราบสาเหตุหรือไม่ และสถานการณ์ในที่เกิดเหตุปลอดภัยหรือยัง
I - Incident command
เพื่อให้การบริหารจัดการที่คล่องตัวในทุกสถานการณ์รุนแรง
S – Safety and Security
เมื่อไปถึงที่เกิดเหตุต้องคำนึงถึงความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานทุกคนด้วย
คำนึงถึงความปลอดภัยป้องกันตนเองรวมทั้งทีม เป็นอันดับแรก
ค่อยคำนึงถึงการป้องกันชุมชน
A – Assess Hazards
ควรทำการประเมินที่เกิดเหตุซ้าๆ เพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
ความรู้ที่สำคัญ คือ รีบทำงานให้เสร็จและย้ายออกให้เร็วที่สุด แล้วก็ควรคำนึงถึงการป้องกันตนเองด้วยการสวมเครื่องมือป้องกันตนเองก่อนเข้าไปในที่เกิดเหตุอีกด้วย
S – Support
การเตรียมการล่วงหน้าเป็นสิ่งสำคัญ
ไม่สามารถหวังพึ่งการสื่อสารในขณะเกิดภัยพิบัติได้
จึงควรมีแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนเป็นส่วนสำรอง
T – Triage/Treatment
ระบบการคัดกรองที่ใช้คือ MASS Triage Modelประกอบด้วย
Move การเคลื่อนย้าย
Assess
Sort
วิธีนี้สามารถแบ่งผู้ป่วยเป็นกลุ่มๆตาม ID-me
Immediate
ไม่สามารถเดินได้และไม่ทำตามสั่ง
Delayed
กลุ่มที่รู้ตัวและทำตามสั่งได้
Minimal
กลุ่มผู้บาดเจ็บที่เดินได้
Expectant
ผู้ป่วยมีอาการปางตายหรือเป็นการบาดเจ็บที่รักษาไม่ได้
Sendขนย้ายผู้บาดเจ็บออกจากที่เกิดเหตุ
E – Evacuation
การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างที่เกิดเหตุ รวมทั้งหน่วยกู้ภัยเมื่อถึงเวลาจำเป็น
R – Recovery
ช่วงการฟื้นฟูเริ่มต้นทันทีหลังจากเกิดเหตุการณ์ ควรให้ความสนใจกับผลกระทบในระยะยาว
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
ต้องมีการประเมินสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง
คาดการณ์ความต้องการระหว่างที่มีเหตุการณ์เกิดขึ้น
คาดการณ์ความต้องการระหว่างที่มีเหตุการณ์เกิดขึ้น