Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสุขภาพบริเวณช่องท้อง (abdominal) (การแบ่งช่องท้องเป็น 9 ส่วน…
การประเมินสุขภาพบริเวณช่องท้อง (abdominal)
การประเมินจากการดู
ภาวะปกติ
ท้องจะสมมาตรกัน ไม่พบหลอดเลือดดำขยายหรือโป่งพอง ไม่มีรอยจ้ำเลือดใดๆ สะดือไม่ดึงรั้งที่หน้าท้อง
ภาวะผิดปกติ
ท้องโตกว่าปกติหน้าท้องไม่สมมาตรกันอาจเกิดจาก ลม น้ำ หรือพบก้อนเนื้อผิดปกติในช่องท้องหรือบริเวณหน้าท้องมีแผลอักเสบติดเชื้อ มีการขยายตัวของหลอดเลือดดำและการมีสะดือรั้ง
การประเมินจากการฟัง
การฟังสามารถฟังเสียงได้ทุกส่วนของท้อง การฟังเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้โดยใช้หูฟังวางบริเวณ umbilical เพื่อฟังเสียงการบีบตัวของลำไล้ เรียกว่า bowel sound สังเกตลักษณะเสียงและจำนวนครั้งที่ได้ยิน
ภาวะปกติ
จะได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ 6-12 ครั้งต่อนาทีเป็นเสียง ก๊อก ก๊อก คล้ายเสียงเทน้ำได้ยินทุก 2-10 วินาที
ภาวะผิดปกติ
ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้มากกว่า 12 ครั้งต่อนาที เรียกว่า hyperactive หรือภาวะท้องเสีย
ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้น้อยกว่า 6 ครั้งต่อนาที เรียกว่า hypoactive หรือภาวะท้องผูก
เสียงฟู่ bruit เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือด
การแบ่งช่องท้องเป็น 9 ส่วน
hypochondrium ซ้าย
hypochondrium ขวา
hypogastrium
lumbar region ซ้าย
umbilical area
lumbar region ขวา
inguinal region (ซ้าย)
inguinal region (ขวา)
epigastrium
การประเมินจากการเคาะ
ตับ
เพื่อหาขนาดของตับ
ให้เคาะแนวเส้นกลาง MCL.โดยเริ่มจากหน้าท้องด้านล่างต่ำกว่าสะดือซึ่งจะมีเสียงโปร่ง ค่อยๆเคาะขึ้นบนจนได้ขอบล่า่งของตับซึ่งมีเสียงทึบ
ขนาดตับปกติ = ุ6-12 ซม.ในแนว Midcavicular line
การตวจสารน้ำในช่องท้อง
การตรวจการเปลี่ยนที่ของเสียงเคาะทึบ (shifting dellness)
ภาวะปกติ:จะเคาะแล้วได้ยินเสียงโปร่ง
ภาวะผิดปกติ:จะได้ยินเสียงทึบเนื่องจากมีน้ำในช่องท้อง
การตรวจการสั่นสะเทือนของสารน้ำ(Fiuid thrill)สารน้ำในช่องท้องจะเป็นตัวนำให้เกิดการสั่นสะเทือน
ภาวะปกติ:เมื่อทำให้เกิดการสั่นแล้วจะไมาสามรถสัมผัสได้ถึงแรงสั่นสะเทือน
ภาวะผิดปกติ:เมื่อทำให้เกิดการสั่นสะเสือนแล้วสามารถรับรู้ถึงการสั่นสะเทือนได้
การแบ่งช่องท้องเป็น 4 ส่วน
ส่วนขวาบน (right upper quadrant หรือ RUQ) มีอวัยวะสำคัญ คือ ตับ ถุงน้ำดี ดูโอดีนั่ม
ส่วนหัวของ ตับอ่อน ไตขวา และ hapatic flexure ของ colon
ส่วนขวาลาง (right lower quadrant หรือ RLQ) อวัยวะสําคัญคือ cecum, terminal,ileum, appendix และรังไข่กับปีกมดลูก (ในผู้หญิง)
ส่วนซ้ายบน (left upper quadrant หรือ LUQ) มีอวัยวะสําคัญคือกระเพาะอาหาร ม้าม ไต
ซ้าย ตับอ่อน ส่วน body และ tail, splenic flexure ของ colon
ส่วนซ้ายลาง (left lower quadrant หรือ LLQ) มีอวัยวะที่สําคัญคือ sigmoid colon และรังไข่กับปีกมดลูก
ลักษณะทั่วไปของหน้าท้อง
แบ่งเป็น 3 ประเภท
Scaphopld
Distended
Flat
กรประเมินจากการคลำ
การคลำแบบตื้นๆ(light palpation)ใช้ปลายนิ้วมือวางชิดกัน
กดค่อยๆตามบริเวณต่างๆของหน้าท้องและสังเกตสีหน้าของผู้ป่วยเพื่อสังเกตอาการผิดปกติ
Tenderness: กดเจ็บเฉพาะที่หรือทั่วไป
Rebound tenderness:รู้สึกเจ็บเมื่อผู้ตรวจเอามือกดลึกๆและปล่อยโดยเร็วแสดงว่ามีอาการอักเสบของเยื่อบุช้องท้อง
Rigidity;เป็นการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้องตลอดเวลาเมื่อถูกกด
Guarding :เป็นการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
Murphy's sign:ตรวจในรายที่สงสัยว่าถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน
การคลำลึกๆ(Deep palpation) หรือการใช้มือทั้งสองข้างใช้ตรวจอวัยวะที่โตกว่าปกติ
การคลำตับ
ใช้มือซ้ายรองรับทางด้านหลังผู้ป่วย มือขวาวางราบบนผนังหน้าท้อง ให้ปลายนิ้วชี้ไปทางศีรษะผู้ป่วย
คลำโดยวิธี Hooking technique:ผู้ตรวจยืนทางด้านขวาหันหน้าไปปลายเท้าผู้ป่วยใช้นิ้วกดลงไปใต้ชายโครงขวาแล้วดึงมือเข้าชายโครงขณะผู้ป่วยหายใจออก
การคลำม้าม:ใช้มือซ้ายดันจากด้านหลังของผู้ป่วยในระดับชายโครงซ้ายมือขวาวางบนหน้าท้องตั้งฉากกับชายโครงด้านซ้ายจะสามารถคลำม้ามได้เมื่อม้ามโตอย่างน้อย 3 เท่าพบได้ในผู้ป่วย Polycythemia
นางสาวนนทิยา แหลมภู่ เลขที่ 39 ห้อง A รหัส 613601040