Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
*หญิงไทยอายุ 32 ปี G1P0 GA 35+1 wks (ระยะหลังของการตั้งครรภ์ (HPL…
*หญิงไทยอายุ 32 ปี G1P0 GA 35+1 wks
ปฏิเสธประวัติโรคในครอบครัว โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ุ และโรคประจำตัว
ก่อนตั้งครรภ์คุมกำเนิดโดยการใช้ถุงยางอนามัย วางแผนการตั้งครรภ์ หลังจากแต่งงานมา 3 เดือน ไม่ได้คุมกำเนิดและไม่ได้ใส่ถุงยางอนามัยเพราะต้องการมีบุตร
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 50 kg น้ำหนักปัจจุบัน 59 kg ส่วนสูง 156 cm
BMI 20.55 kg/m^2 อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ระยะแรกของการตั้งครรภ์
estrogen และ progesterone จากรกสูงขึ้น
กระตุ้น beta cell ของตับอ่อน
มีการหลั่ง insulin เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ทำให้มีการสะสมของไกลโคเจนในเนื้อเยื่อมากขึ้น มีการใช้ glucose เป็นหลักในการสร้างพลังงาน
ทำให้ FBS ต่ำกว่าระดับก่อนตั้งครรภ์
GA 25+4 weeks xผล 50 gms GCT ได้ 153.2 mg/dl (ปกติมีค่า<140 mg/dl)
ตรวจ 100 gms OGTT เมื่ออายุครรภ์ GA26+4weeks ผล 76 ,181 ,180 ,147 mg/dl (ค่าปกติ <105,190,165,145 mg/dl ; หากผิดปกติตั้งแต่ 2 ใน 4 ค่า แสดงว่าเป็น GDM)
Diagnosis Gestational diabetes mellitus
หลังจากตรวจพบว่าเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ควบคุมอาหาร 1800 kcal
ระยะหลังของการตั้งครรภ์
HPL,prolactin,cortisol,glucagon เพิ่มขึ้น
เมทาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรตผิดปกติ
กระตุ้น lslets of langerhan's ยับยั้ง การหลั่ง insulin
เกิดภาวะดื้อ insulin
ความต้องการ insulin ที่เพิ่มขึ้น
ปกติชอบรับประทานของหวาน ขนมหวาน ติดรสหวาน ชอบกินชาเย็น ชาเขียว นมสด ดื่มสัปดาห์ละ 3-4 แก้ว
มาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ GA 7+4 weeks ที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ผล Lab I Blood group B Rh positive , Hb 12.1 gm% , Hct 38.8 % , VDRL non-reactive , HBsAg negative , Urine protein negative , Urine sugar negative
ผล Lab II Hct 37.3% serology all negative เมื่ออายุครรภ์ 32+4 weeks
ฝากครรภ์ทั้งหมด 12 ครั้ง มาตามนัดทุกครั้ง
อาชีพนักวิจัย ต้องนั่งหน้าคอมนาน ทำงานวันละ 8 ชม.
เกิดความเครียด
ทำให้มีการหลั่ง catecholamine สูงขึ้น
ส่งผลกระตุ้นระบบประสาท sympathetic
รกทำหน้าที่ลดลง
กระตุ้นการทำงานของ hypothalamic pituitary adrenal axis ที่ควบคมุการ หลั่งของ corticotrophinreleasing hormone [CRH] ทำให้สตรีตั้งครรภ์มี ฮอร์โมนดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น
กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล
ส่งผลยับยั้ง การผลิตฮอร์โมน progesterone ที่รก และ ฮอร์โมน estrogen จะเพิ่มการผลิตมากขึ้น
ทำให้ทารกมีอัตราการเต้นของหัวใจที่เพิ่มขึ้น
Admit ที่ LR เวลา 21.10-21.30 น. ได้รับการรักษา on monitor FHS 130-190 bpm
Admit ที่ LR เวลา 21.10-21.30 น. ได้รับการรักษา on monitor พบมี UC I 2-3 นาที D 45 วินาที mild-mod PV by speculum cx.dilate 2 cm AF clear FHS 130-190 bpm
เวลา 22.00 น Uterine Contraction ถี่ขึ้น I 2 นาที 45วินาที D 50 วินาที mild-mod FHS 150-170 bpm on monitor continuous
ได้รับการรักษา
4 more items...
ไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์ Amnion และ chorior มีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เป็น collagen ชนิดที่ 3 น้อยลง
แรงต้านการการยืดตัวของเยื่อหุ้มทารกลดลง เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น
เกิดการแตกรั่วของถุงน้ำคร่ำ
ปฏิกิริยาของน้ำคร่ำและ Chorianic Phosphodipase A2
ทำให้เกิด Hydrodyzes Phospholipid ในเยื่อรก
เกิด Free Arachidonic acid สูงขึ้น
สังเคราะห์ prostaglandin สูงขึ้น
มดลูกมีการหดรัดตัว
Pt.บอกว่ากลัวคลอดก่อนกำหนด เป็นห่วงลูกในท้อง
1 more item...
*1.มีภาวะเจ็บครรภ์ครรภ์คลอดก่อนกำหนดเนื่องจากมีถุงน้ำคร่ำรั่วซึม
21/8/62 เวลา21.00น. รับใหม่ที่ ER ให้ประวัติ 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
มีอาการปวดท้อง ท้องแข็ง ทุก ๆ 5 - 10 นาที นานครั้งละ 40 - 50 วินาที
มีน้ำใสไหลออกทางช่องคลอด
*4.เสี่ยงต่อการติดเชื้อในโพรงมดลูกเนื่องจากมีถุงน้ำคร่ำรั่วซึม