Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ Diaster nursing (คำนิยามภัยพิบัติ…
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
Diaster nursing
คำนิยามภัยพิบัติ (disaster)
JCAHO
เหตุุการณ์เช่นเดียวกันแต่เกิดในที่ห่างไกลในชนบทซึ่งอาจถือว่าเกินกำลังของโรงพยาบาลแห่งนั้นและต้องการความช่วยเหลือจากนอกโรงพยาบาลก็ถือว่าเป็นภัยพิบัติ
อุบัติภัยหมู่ (mass casualty incident,MCI)
เหตุการณ์ืที่มีผู้บาดเจ็บเกิดขึ้นจำนวนมากจนต้องระดมกำลังความช่วยเหลือจากทุกแผนกในโรงพยาบาล อาจจำต้องส่งต่อไปรักษาที่โรงพยาบาลอื่นทั้งในและนแกจังหวัด
องค์การอนามัยโลก WHO
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือโดยมนุษย์อย่างทันทีและทำให้ระบบการดูแลรักษาที่มีอยู่เดิมชะงักลงหรือเพิ่มความต้องการในการปฏิบัติงานขององค์กร
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
Disaster paradigm
ช่วยให้ปฏิบัติการจนถึงผู้บัญชาการณ์เหตุการณ์ต้องมีการประเมินสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง
S-Safety and Security
ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุและป้องกันตนเองรวมทั้งทีมเป็นอันดับแรก จากนั้นค่อยคำนึงป้องกันชุมชน
A-Assess Hazards
ควรประเมินที่เกิดเหตุซ้ำๆเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
ที่สำคัญ!!!!
รีบทำงานให้เสร็จและย้ายออกให้เร็วที่สุด ควรคำนึงการป้องกันตนเองด้วยสวมเครื่องมือป้องกันตนเองก่อนเข้าไปในที่เกิดเหตุ
D-Detection
เป็นการประเมินสถานการณ์ว่าเกินกำลังหรือไม่
I-Incident command
เป็นระบบผู้บัญชาเหตุการณ์ ทั้งนี้เพื่อสามารถขอความร่วมมือในทุกหน่วยงาน ขยายงาน ยุบงาน และเป็นผู้ดูแลภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S-Support
การเตรียมการล่วงหน้าเป็นสิ่งสำคัญ เตรียมอุปกรณ์ ทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ เช่น สิ่งที่จำเป็นพื้นฐานที่ต้องการใช้มีอะไรบ้าง ต้องการกำลังคนแบบไหน เครื่องมืออะไร เป็นต้น
T-Triage/Treatment
การคัดกรองให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจำเป็นของผู้ป่วย
ระบบการคัดกรอง
MASS Triage Model
A-Assess
เป็นการประเมินที่สำคัญต่อชีวิตเสี่ยงต่อการเกิดคุกคาม โดยไปที่กลุ่ม Immediate โดยมองหาตำแหน่งที่มีผู้บาดเจ็บ ซึ่งไม่สามารถเดินได้และไม่ทำตามสั่ง ประเมิน ABC อย่างรวดเร็ว
-Airway คือ การทำให้หายใจโล่ง
-Breathing คือ การช่วยให้หายใจ
-Circulation คือ การช่วยให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงส่วนต่างๆ
แต่!!! ถ้ามีผู้ป่วยอาการปางตายหรือการบาดเจ็บรักษาไม่ได้ คือกลุ่ม Expectant แพทย์ควรปล่อยไว้และรีบให้การรักษาแก่ผู้ป่วยรายต่อไป
M-Move
ลำดับขั้นตอนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากที่เกิดเหตุ
1.Minimal group
จุดประสงค์ แยกกลุ่มผู้บาดเจ็บที่เดินได้
แนวปฏิบัติ "ใครได้ยินผมและต้องการความช่วยเหลือ ขอให้เดินไปที่ธงสีเขียว"
2.Delayed group
จุดประสงค์ แยกกลุ่มผู้บาดเจ็บที่รู้ตัวและทำตามสั่งได้
แนวปฏิบัติ "ทุกคนที่ได้ยินผม ขอให้ยกมือหรือเท้าขึ้น แล้วเราจะไปช่วยคุณ"
3.Immediate group
แนวปฏิบัติ เข้าไปประเมินผู้บาดเจ็บที่เหลือทันทีและให้การช่วยเหลือชีวิต
จุดประสงค์ แยกแยะคนที่เหลือ
S-Sort
การแยกแยะผู้บาดเจ็บออกเป็น 4 กลุ่มตาม ID-me
1.Immediate
ผู้บาดเจ็บมีภาวะคุกคามชีวิตหรืออวัยวะ ซึ่งที่มีภาวะแทรกซ้อนบางอย่างเกี่ยวกับ ABC เช่น ไม่มีแรงพอในการหายใจ เลือดออกมากจนควบคุมไม่ได้ หรือแขนขาคลำชีพจรไม่ได้ เป็นต้น
1 more item...
2.Delayed
ผู้บาดเจ็บที่สามารถรอรับการดูแลรักษาพยาบาลได้โดยที่อาการไม่แย่ลงอย่างรวดเร็ว สัญญาณชีพปกติและทางเดินหายใจเปิดโล่ง ได้แก่ ผู้บาดเจ็บที่มีแผลฉีกขาดลึกและมีเลือดออกมากแต่ห้ามเลือดได้โดยที่ชีพจรส่วนปลายยังคงปกติหรือกระดูกหักแบบแผลเปิด
1 more item...
4.Expectant
ผู้บาดเจ็บที่มีโอกาสรอดชีวิตน้อยมากและทรัพยากรที่มีอยู่ไม่เพียงพอในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
1 more item...
3.Minimal
ผู้บาดเจ็บที่สามารถเดินไปมาได้ มีสัญญาณชีพปกติและสามารถรอการรักษาได้โดยไม่เกิดผลเสียอะไร กลุ่มนี้สามารถได้รับการช่วยเหลือจากบุคคลอื่นได้ที่ไม่ใช่แพทย์
1 more item...
S-Send
การขนย้ายผู้ป่วยบาดเจ็บจากที่เกิดเหตุ วิธีการต่างๆขึ้นกับกลุ่มที่คัดกรองและสภาวะทางคลินิก
1.รักษาแล้วปล่อยกลับจากที่เกิดเหตุ
2.ส่งไปยังโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
3.ส่งไปที่หน่วยเก็บรักษาศพ
R-Recovery
ช่วงฟื้นฟูเริ่มต้นทันทีหลังจากเกิดเหตุการณ์ ควรให้ความสนใจกับผลกระทบในระยะยาว ค่าใช้จ่ายและลดผลกระทบของเหตุการณ์ต่อผู้บาดเจ็บ ผู้เข้าช่วยเหลือ ชุมชน รัฐ ประเทศและสิ่งแวดล้อม
E-Evacuation
การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างที่เกิดเหตุ รวมถึงอพยพหน่วยกู้ภัยและการดูแลครอบครัวของผู้ที่ประสบภัยด้วย