Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abdomen (การดู (สิ่งที่ควรสังเกต (ลักษณะของท้องโตผิดปกติหรือไม่,…
Abdomen
การดู
ลักษณะหน้าท้อง
Flat
Scaphoid
Distended
สิ่งที่ควรสังเกต
ลักษณะของท้องโตผิดปกติหรือไม่
บริเวณที่นูนหรือที่โป่งพองเฉพาะที่
แผลเป็น(Scars)รอยแผลจากการผ่าตัด
ลายที่ผนังหน้าท้อง(Striae)
หลอดเลือดดำที่โป่งพอง(Superficail vein dilatation)
การดึงรั้งของสายสะดือ
การเคลื่อนไหวของผนังหน้าท้องขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้าและออก
สีผิวและรอยโรค
ภาวะปกติ
ท้องจะสมมาตรกัน
ไม่พบรอยจ้ำเลือด
หน้าท้องปกติไม่พบหลอดเลือดดำขยายหรือโป่งพอง
การเคลื่อนไหวของท้องปกติ
โป่งออกเวลาหายใจเข้า
ยุบลงเวลาหายใจออก
บริเวณขาหนีบไม่มีการโป่งนูนหรือมีก้อน
ภาวะผิดปกติิ
ท้องโตกว่าปกติไม่สมมาตรกัน(abdominal)
เกิดจากลม
น้ำในช่องท้อง
มีก้อนในช่องท้อง
ลักษณะท้องที่ผิดปกติ
มีแผลอักเสบหรือแผลไม่ติด
ผนังหน้าท้องไม่เคลื่อนไหวตามการหายใจหรือมีการเคลื่อนไหวแบบ (peristalsis wave)
พบสะดือถูกดึงรั้ง
บริเวณขาหนีบมีก้อนนูน
การฟัง
เสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ (bowel sound)
Normalactive ได้ยิน 6-12 ครั้ง/นาที
Hyperactive ได้ยินมากกว่า 6-12 ครั้ง/นาที
พบในอาการท้องเสีย
Hypoactive ได้ยินน้อยกว่า 6-12 ครั้ง/นาที
พบในอาการท้องผูก
เสียงผิดปกติ
เสียงฟู่ (Bruit) เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดแดง
วิธีการฟัง
ควรฟังให้ทั่่วทั้ง 4 Quadrants
ฟังอย่างน้อย 3 นาที
การเคาะ
การเคาะเพื่อตรวจสารน้ำในช่องท้อง
การตรวจการเปลี่ยนที่ของเสียงเคาะทึบ (Shifting dullness)
วิธีการตรวจ
1.ให้ผู้ป่วยนอนหงาย
2.เริ่มเคาะจากสะดือไปทางด้านข้างทั้งซ้ายและขวา
จนถึงแนวเส้นกลางรักแร้
ลักษณะเสียง
ในภาวะปกติ เคาะได้เสียงโปร่ง
ในภาวะผิดปกติ จะมีน้ำในช่องท้องเคาะได้เสียงทึบ
การตรวจการสั่นสะเทือนของสารน้ำ (Fluid thrill)
วิธีการตรวจ
1.ผู้ป่วยนอนหงาย
2.ผู้ตรวจวางมือซ้ายขนานกับหน้าท้องด้านขวาของผู้ป่วย
3.ใช้มือขวาของผู้ตรวจเคาะเบาๆ
4.ถ้ามีน้ำในช่องท้อง ผู้ตรวจรู้สึกการสั่นสะเทือนที่ผ่ามือซ้าย
การตรวจอาการแสดงแบบหลุมบ่อ (Puddle sign)
เป็นการตรวจหาสารน้ำในช่องท้อง โดยเฉพาะที่จำนวนน้อย
วิธีนี้ไม่นิยมใช้เนื่องจากเป็นท่าที่ไม่สะดวกกับผู้ป่วย
ตับ
วิธีการตรวจ(หาขนาดของตับ)
1.ให้เคาะในแนวเส้นกลาง MCL
2.เริ่มจากหน้าท้องด้านล่างต่ำกว่าสะดือซึ่งมี(เสียงโปร่งใส) ค่อยๆเคาะขึ้นบนจนได้ขอบล่างของตับ(เสียงทึบ)
3.แล้วเคาะจากบริเวณหน้าอกซึ่งมีเสียงโปร่งค่อยๆเคาะต่ำลงจนพบขอบบนของตับ จากนั้นวัดความสูงตับ
ภาวะปกติ
เคาะได้เสียงทึบของตับตามแนว MCL ขวา ได้เสียงทึบกว้าง 10-12 เซนติเมตร
ภาวะผิดปกติ
เคาะได้บริเวณตับเล็กกว่าปกตื
ไต (กรณีที่คิดว่ามีปัญหาที่ไต)
วิธีการตรวจ
การกด ใช้ปลายนิ้วกดแรงๆ บริเวณ costovertebral angle
การทุบ วางมือซ้ายผู้ตรวจโดยทาบที่ตำแหน่งcostovertebral angle และใช้มือข้างขวากำแน่นทุบเบาๆ ทำทั้งข้างเปรียบเทียบกัน
การคลำ
วิธีการคลำ
การคลำเบาๆหรือตื้นๆ (Light palpation)
Tenderness
กดเจ็บเฉพาะที่หรือทั่วไป แสดงว่ามีพยาธิสภาพของอวัยวะตำแหน่งที่กดเจ็บ
กดเจ็บทั่วไปในช่องท้องเรียกว่า Generalized tenderness
Rebound tenderness
รู้สึกเจ็บเมื่อเอามือกดลึกๆและปล่อยโดยเร็ว
มีการอักเสบของ Parietal peritoneum ตอนกดจะเจ็บแต่ตอนปล่อยจะเจ็บมากกว่า
Rigidity
เป็นการแข็งแกร็งกล้ามเนื้อ
หน้าท้องตลอดเวลาเมื่อถูกกด
มีอาการอักเสบที่Parietal peritoneum
Guarding/Spasm
เป็นการแข็งแกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
ถ้าเกิดโดยไม่จงใจ คือมีการอักเสบของ Visceral
Murphy's sign
วิธีการตรวจ
1.มือซ้ายวางชายโครงด้านขวา
2.ให้หัวแม่มือกดลงบริเวณถุงน้ำดี ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออก
การอักเสบเรียกว่า Murphy's sign positive
มีอาการกดแล้วรู้สึกเจ็บ
มีอาการสะดุ้งหรือกลั้นหายใจไว้
เพื่อไม่ให้ถุงน้ำดีเคลื่่อนลงมากระทบที่นิ้วมือ
การคลำลึกหรือการคลำสองมือ
deep/balpable
ตับ
วิธีคลำตับ
1.ใช้มือซ้ายรองรับทางด้านหลังของผุ้ป่วย
2.ใช้มือขวาวางราบบน ให้ผู้ป่วยงอเข้าเล็กน้อย
3.หายใจเข้าออกลึกๆช้าๆทางปาก
4.คลำจากหน้าท้องด้านขวาล่าง แล้วค่อยๆเคลื่อนขึ้นข้างบนเข้าหาชายโครงจนนิ้วคลำพบขอบตับ
การคลำโดยวิธีการเกี่ยว Hooking technique
1.ผู้ตรวจยืนทางขวาและหันหน้าไปทางปลายเท้าผู้ป่วย
2.ใช้นิ้วกดลงบริเวณใต้ชายโครงขวา แล้วดึงเข้าหาชายโครง ขณะผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ
ภาวะปกติ
คลำขอบตับไม่พบ หรือพบ 1-2 เซนติเมตร
จากใต้ชายโครงขวา
กดไม่เจ็บ
ขอบตับที่คลำได้
ผิวจะเรียบ
ขอบเรียบ บาง นุ่ม ไม่ขรุขระ
ภาวะผิดปกติ
ตับมีขนาดโตเกินขอบชายโครง
ตับแน่นหรือแข็งเหมือนหิน
ผิวขรุขระ
กดเจ็บ
ม้าม
การคลำม้าม
1.ใช้มือซ้ายดันจากด้านหลังของผู้ป่วยในระดับชายโครงซ้าย
2.มือขวาวางบนหน้าท้องให้นิ้วตั้งฉากกับชายโครงด้านซ้าย
3.เริ่มคลำที่หน้าท้องด้านล่างซ้าย ค่อยๆเลื่อนขึ้นข้างบนจนปลายนิ้วพบขอบม้ามซึ่งยื่นออกมาใต้ชายโครงซ้าย
ภาวะปกติ
คลำไม่พบขอบม้าม
ภาวะผิดปกติ
ตลำพบขอบม้าม ต้องโตประมาณ 2-3 เท่าของขนาดปกติ
นางสาวพัชราภา ระโหฐาน เลขที่56 ห้อง2B รหัสนักศึกษา 613601164