Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PBL โจทย์สถานการณ์ที่1 หมู่1 บ้านดอนทอง (รายงานการศึกษาชุมชน…
PBL โจทย์สถานการณ์ที่1
หมู่1 บ้านดอนทอง
การศึกษาชุมชน (community study) :
หมายถึง การค้นคว้า การหาคำตอบ การทำความเข้าใจ การหาความรู้และความจริงเกี่ยวกับชุมชนที่ศึกษานั้น โดยศึกษาเกี่ยวกับด้านกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนปัญหาและปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชน อย่างรอบด้าน และเป็นองค์รวม เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์แนวโน้มของปัญหาและความต้องการของชุมชน เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาวางแผนพัฒนาชุมชนในอนาคต โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผนและจัดการได้อย่างเหมาะสม
ความสำคัญ
1.การเข้าใจ
2.การเข้าถึง
3.การพัฒนา
วัตถุประสงค์
ปณิธาน (Purpose) หรือ วัตถุประสงค์ปลายทางสูงสุด (Ultimate purpose) ในการศึกษาชุมชน คือปัญญา ที่ได้จากการศึกษาชุมชน ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการลดปัญหา หรือการเพิ่มขีดความสามารถในการส่งเสริมและพัฒนาชุมชนได้ หรือทำการศึกษาต่อยอดปัญญา เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องต่อไป วัตถุประสงค์ในการศึกษาชุมชนสามารถแบ่งได้ 4 ประการ (ยศ บริสุทธิ์, 2558)
1.การศึกษาชุมชนเพื่อทำความเข้าใจสภาพความเป็นอยู่ของชุมชน (Existing)
2.การศึกษาชุมชนเพื่อกำหนดทิศทางการส่งเสริมและพัฒนา
3.การศึกษาชุมชนเพื่อการสร้างความก้าวหน้าทางวิชาการหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
4.การชุมชนเพื่อการพัฒนาเชิงปฏิบัติการ
การศึกษาชุมชนเพื่อการพัฒนาเชิงปฏิบัติการทดสอบเทคโนโลยี
การศึกษาชุมชนเพื่อพัฒนาเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
กระบวนการศึกษาชุมชน
หมายถึง ขั้นตอนต่างๆ ของการศึกษาชุมชน ซึ่งสามารถกำหนดได้หลาย ลักษณะ
การกำหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษาชุมชน
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีชุมชนเพื่อประกอบการศึกษาชุมชน
การกำหนดชุมชนที่จะศึกษา
การเตรียมทีมงานและเตรียมความพร้อมของชุมชน
การกำหนดวิธีการและแผนการศึกษาชุมชน
การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ
การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิหรือข้อมูลภาคสนาม
การประมวลผลข้อมูล
การวินิจฉัยชุมชนและการจัดลำดับความสำคัญ
การจัดทำยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาชุมชน
การจัดทำรายงานผลการศึกษาชุมชน
การรวบรวมข้อมูล
ตามแหล่งที่มาของข้อมูล
1.ข้อมูลปฐมภูมิ
2.ข้อมูลทุติยภูมิ
ตามลักษณะของข้อมูล
1 ข้อมูลเชิงคุณภาพ
2 ข้อมูลเชิงปริมาณ
รายงานการศึกษาชุมชน
สภาพนิเวศน์วิทยา
2.1 สภาพทางภูมิประเทศ
2.2 สภาพทางนิเวศวิทยาและการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อชุมชน
2.3 แผนที่
ประวัติหมู่บ้าน
1 ชื่อ ที่มา อายุ ของหมู่บ้าน
2 เหตุผลในการเลือกหมู่บ้าน การเริ่มต้น ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน และการขยายตัวของหมู่บ้าน
3 การสืบเนื่องและการเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์สำคัญ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นทั้งในด้าน สังคม เศรษฐกิจ การเมือง
ระบบการปลูกพืช และการใช้แรงงาน
3.1 พืชหลัก พืชรองในชุมชน ประวัติการปลูก เตรียมดิน วิธีการปลูก การบำรุงรักษา ปัญหาด้านการปลูกพืช ผลผลิตได้รับการกระจายผลผลิต การตลาด เป็นต้น
3.2 ชนิด จำนวน เหตุผลของสัตว์ที่เลี้ยง ปัญหาด้านการเลี้ยงสัตว์ การกระจายผลผลิต และการตลาด
3.3 ปฏิทินการปลูกพืชและการใช้แรงงาน ปฏิทินการเลี้ยงสัตว์ และการใช้แรงงาน
ประชากร
4.1 จำนวนครัวเรือน จำนวนประชากร เพศ อายุ
4.2 การเปลี่ยนแปลงประชากร เช่น การเกิด การตายและการย้ายถิ่น
4.3 ประเภทกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรมของชาติพันธุ์นั้นๆ
สาธารณูปโภคของหมู่บ้าน
5.1 การคมนาคม การติดต่อสื่อสารภายใน และภายนอกหมู่บ้าน
5.2 การมีไฟฟ้าใช้ในหมู่บ้านและการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อชุมชน
5.3 การมีประปาหมู่บ้าน และการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อชุมชน
ระบบครอบครัว
6.1 ลักษณะของครอบครัว
6.2 การตัดสินใจ และการจัดการในครอบครัว
6.3 การเลือกคู่ครอง และการแต่งงาน
6.4 การแบ่งมรดก
6.5 ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกครอบครัวซึ่งไปทำงานที่อื่น
6.6 ระบบเครือญาติ
6.7 สร้างแผนภูมิเครือญาติ
ระบบการศึกษา
7.1 ชื่อ ประเภทโรงเรียน ปีที่ตั้งโรงเรียน จำนวนครูและนักเรียน
7.2 ระดับการศึกษาของคนในหมู่บ้าน
7.3 สถาบันสังคม (วัด โรงเรียน ครอบครัว การสื่อสาร) บทบาทต่อชุมชนในด้าน การศึกษา
การสาธารณสุข
8.1 โรคที่ชาวบ้านเป็นกันมาก และวิธีการรักษาและการตัดสินใจในการป้องกันรักษาโรคภัยของชาวบ้าน
8.2 บริการสาธารณสุขในหมู่บ้าน (ตู้ยา สหกรณ์ สถานีอนามัย ฯลฯ)
8.3 บทบาทของ ผสส.อสม.
8.4 ภาวะโภชนาการของเด็กวัย 0 – 5 ปี
8.5 อนามัยแม่และเด็ก
8.6 สุขาภิบาล (โอ่ง ส้วม แหล่งน้ำ)
8.7 ทันตภิบาล
8.8 สุขภาพจิต สาเหตุ และผลกระทบ
ความเชื่อ
ระบบเศรษฐกิจ
10.1 การประกอบอาชีพหลัก อาชีพรองของชาวบ้าน
10.2 การผลิต การลงทุน และการใช้แรงงาน และเทคโนโลยีต่างๆ
10.3 ชนชั้นในหมู่บ้าน ความสัมพันธ์ทางการผลิตระหว่างชนชั้นต่างๆ ในหมู่บ้านและ การครอบครอง ปัจจัยการผลิตระหว่างชนชั้นต่างๆ ในหมู่บ้าน
10.4 ตลาดสำหรับผลผลิต ทั้งใน และนอกหมู่บ้าน
10.5 ผลตอบแทนที่ชาวบ้านได้รับ เช่น รายได้ ภาวะหนี้สิน การกู้ยืม เป็นต้น
10.6 ลักษณะจำนวนร้านค้าภายในหมู่บ้าน และชนิดสินค้า
10.7 คนที่มีที่ดินจำนวนมากที่สุดและน้อยที่สุด จำนวนที่ดินทำกินโดยเฉลี่ย จำนวนคนไม่มีที่ดินทำกิน
10.8 ระบบการแลกเปลี่ยนสิ่งของภายในและภายนอกหมู่บ้าน
10.9 รูปแบบการแลกเปลี่ยนแรงงาน การลงแขก
10.10 ปัญหาทางด้านการทำมาหากิน ขาดเงินทุน แหล่งน้ำ ที่ทำกิน ภัยธรรมชาติ การบุกรุกที่ดิน สาธารณะ ป่าสงวนแห่งชาติ
10.11 สภาวะของความยากจนในหมู่บ้าน รวมทั้งความคิดเป็นของชาวบ้านต่อสภาพ เศรษฐกิจภายในและภายนอกหมู่บ้าน ข้อเสนอแนะของชาวบ้านต่อการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
10.12 บทบาทของธนาคารข้าว ธนาคารโค – กระบือ ในทางเศรษฐกิจ
10.13 กิจกรรมพัฒนาต่างๆ ในหมู่บ้าน เช่น กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่ม ธ.ก.ส. และกลุ่มผลประโยชน์อื่นๆ พร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
ระบบการเมืองและการปกครองท้องถิ่น
11.1 ลักษณะการปกครองในหมู่บ้าน
11.2 ประเภทของผู้นำ (ผู้นำทางการผู้นำไม่เป็นทางการ)
ทิศทางสภาพ และแนวทางการพัฒนาของหมู่บ้านผลกระทบของโครงการพัฒนาทั้งจากหน่วยงานของรัฐและเอกชนที่มีต่อชุมชน
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
กำหนดวัตถุประสงค์การวบรวมข้อมูล
สร้างเครื่องมือ ตามวัตถุประสงค์
การเตรียมผู้เก็บข้อมูล
การเตรียมชุมชน
กำหนดจำนวนประชากร
6.การนำเครื่องมือไปการเก็บรวบรวมข้อมูล
7.การบันทึกข้อมูล
การวิเคราะห์ชุมชน และการนำเสนอข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis) หมายถึง การจำแนก จัดกลุ่ม หรือใช้วิธีการ สถิติ เพื่อศึกษาลักษณะข้อมูล และอธิบายกลุ่มประชากรที่ต้องการศึกษา เป็นกระบวน การที่นำข้อมูลที่รวบรวมได้ มาตรวจสอบแก้ไข และนำไปวิเคราะห์ โดยใช้สถิติที่เหมาะ สม เพื่อให้คำตอบตามวัตถุประสงค์ (ธีระ สินเดชารัตน์, 2553) ดังนั้น การวิเคราะห์ข้อมูล จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน ก่อนจะนำข้อมูลไปวิเคราะห์
ขั้นตอนการเตรียมการวิเคราะห์ข้อมูล
การตรวจสอบแก้ไขข้อมูลเบื้องต้น (Preliminary editing)
การแยกประเภทของข้อมูล (The establishment of categories)
การแจกแจงข้อมูล
การตรวจสอบแก้ไขรหัสข้อมูลครั้งสุดท้าย (Final editing)
การนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอแบบบทความ บทความกึ่งตาราง
1.1. บทความหรือบรรยาย (Text presentation)
1.2. บทความถึงตาราง (Semitabular presentation)
นำเสนอเป็นรูป ตาราง (Table)
ตารางแสดงข้อมูลลักษณะเดียว (One way table)
สองลักษณะ (Two way table)
หลายลักษณะ (Multiple classification table)
นำเสนอเป็นกราฟ (Graph)
ฮิสโตแกรม (Histogram)
กราฟเส้น (Line diagram)
นำเสนอเป็นแผนภูมิ (Diagram)
แผนภูมิวงกลม (Fit Gun)
แผนภูมิแท่ง (Bat diagram)
ปีระมิดประชากร (Population pyramid)
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลชุมชน
เครื่องมือ 7 ชิ้น
แบบสอบถาม
แบบสังเกตุ
แบบสัมภาษณ์
การสนทนากลุ่ม (Focus group)