Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
B1-12 images ขตร.3 (ยา/สารน้ำที่ให้ (Lasix 500 MG. 1x2 o pc เช้า เที่ยง (…
B1-12
ขตร.3
Data base
General appearance
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 81 ปี รูปร่างสมส่วน รู้สึกตัวดี ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย อาการสับสน ถามตอบไม่รู้เรื่อง หายใจเหนื่อย on HD มีก๊อซปิดบริเวณด้านขวา on cannula 5 lpm,on NG tube ,Retain Foley Catheter ปัสสาวะสีเหลือง มีตะกอนขุ่น
Chief complaint
ซึมลงหลังล้างไต 8 ชม. ก่อนมารพ.
Present illness
2 วันก่อนมารพ.ผู้ป่วย ซึมลง พูดน้อยลง ตอบสนองได้น้อยลง ไม่ลุกนั่ง ปัสสาวะออกน้อย ขุ่น มีประวัติสำลักอาหาร กินได้น้อยลง ไอมีเสมหะเล็กน้อย
2 สัปดาห์ก่อนมารพ.ผู้ป่วยซึมลง กินได้น้อยลง นอนอยู่บนเตียง ไม่ยอมเดิน
8 ชม.ก่อนมารพ.ผู้ป่วยได้ไปทำHD หลังไปทำล้างไตที่รพ.บางนา ผู้ป่วยมีอาการซึมลง เรียกรู้ตัวเเต่ไม่พูด ไม่ตอบคำถาม มีหอบเหนื่อยมากขึ้น เสมหะมากขึ้น ไม่มีไข้ มีถ่ายเหลว 3 ครั้ง ปัสสะวะขุ่น ไม่มีขาบวม ญาตินำส่งรพ.
Past Illness
DM
20ปี
รักษาที่รพ.ตำรวจ
HT
20ปี
ESRD
4ปี
ล้างไตที่รพ.บางนา1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์
CA Colon sigmoid ปี 61
2ปี
ผ่าตัด colectomy with SSE (08/02/61)
DLP
20ปี
โรคหัวใจ
4ปี
ยาที่ใช้ก่อนเข้ารพ.
เเพ้ยา
Cirprofloxacin
ใจสั่น ซึม อ่อนเพลีย
Cefditoren
ใจสั่น
ASPAIN 81 MG.TAB.
BISOPROLOIL FUMARATE 2. 5 MG.TAB.
ATORVASTATIN 40 MG. TAB.
EPOETIN ALFA 4000 IU INJ. 0. 4 ML
FERROUS FUMARATE 200 MG. TAB.
FOLIC ACID 5 MG. TAB.
FUROSEMIDE 500 MG. TAB.
HYDRALAZINE 25 MG. TAB.
ISOSORBIDE DINITRATE 10 MG. TAB.
MANIDIPINE 20 MG. TAB.
OMEPRAZOLE 20 MG. CAP.
OMEPRAZOLE 20 MG. CAP.
OMEPRAZOLE 20 MG. CAP.
Dx.Sepsis with UTI with ESRD
สาเหตุ
การติดเชื้อบิเวณท้อง
การขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน
การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคทางเดินปัสสาวะ
ติดเชื้อที่ไต
ข้อวินิจฉัย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ข้อมูลสนับสนุน
OD
ตรวจพบเชื้อEscherichia coli
มีปัสสาวะสีขาวขุ่น ออกน้อย
มีค่าWBC 26.33 (สูง) 29/08/62
การพยาบาล
ดูเเลสายสวนปัสสาวะไม่ให้พับหักงอ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่าWBC
ดูเเลให้ยาตามเเผนการรักษาของเเพทย์
Tazocin 2.25 gm NSS 100 mlvq 8hr. ตามแผนการรักษา
ประเมินผลการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
สังเกตลักษณะของปัสสาวะ ปริมาณ
วัดสัญญาณชีพของร่างกายทุก4ชั่วโมง
เกณฑ์การประเมินผล
วัดสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ผลทางห้องปฏิบัติ ไม่พบเชื้อ
ดูเเลปริมาณสารน้ำเข้าเเละออกจากร่างกาย
วัตถุประสงค์
ลดภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ผู้ป่วยมีของเสียคั่งในร่างกายเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
ข้อมูลสนับสนุน
OD
ค่าBUN 21.3 (สูง)
ค่า Cr 2.43(สูง)
บวมบริเวณเเขนทั้งสองข้าง
ผู้ป่วยมีอาการสับสน ถามตอบไม่รู้เรื่อง
ผู้ป่วยได้รับการฟอกไตทาง Prem-cath ที่ Neck Rt
วัตถุประสงค์
ลดภาวะของเสียคั่ง เเละไม่เกิดภาวะเเทรกซ้อนหลังล้างไต
เกณฑ์การประเมินผล
ระดับความรู้สึกตัวปกติ ไม่มีสับสน
วัดสัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ BUN,CR อยู่ในเกณฑ์ปกติ
การพยาบาล
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่า Cr
ค่าBUN
ดูเเลปริมาณสารน้ำเข้าเเละออกจากร่างกาย
ประเมิณความตึงตัวของผิวหนัง
อาการบวมกดบุ๋ม
SD
ญาติผู้ป่วยให้ประวัติว่าเป็น ESRD มา 2 ปี
เเละล้างไต ที่รพ.บางนา1 3ครั้ง/wk (จ พ ส)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
วัตถุประสงค์ในการพยาบาล
ไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ข้อสนับสนุน
Subjective data
ผู้ป่วยบ่นหายใจเหนื่อย อ่อนเพลีย
Objective data
On O2 canula 5 LPM
RR 20 bpm
การพยาบาล :
1.ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะ O2 sat ชีพจร ประเมินอัตราการหายใจ
2.ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน สีของเล็บ ปลายมือปลายเท้าเยื่อบุผิวหนังลักษณะการซีด เขียว
3.ให้ผู้ป่วยนอนศรีษะสูง (Fowler's position) เพื่อให้ปอดขยายตัวได้เต็มที่
4.ดูแล O2 sat canula 5 LPM ตามการรักษาแพทย์
5.ดูเเลความสะอาดในช่องปาก
6.ดูแลให้พักผ่อนบนเตียง เพื่อให้ร่างกายได้พักผ่อน ลดกิจกรรมในการใช้พลังงานลง เป็นการลดการใช้ออกซิเจนการเผาผลาญอาหารของร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการของภาวะพร่องออกซิเจนเช่น หายใจหอบเหนื่อย อ่อนเพลีย ไม่ใช่กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ
O2 sat อยู่ระหว่าง 95-100 %
ชีพจร 60-120 ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ 16-20 ครั้ง/นาที
ประเมินผล
ผู้ป่วยเเสดงอาการเหนื่อยลดลง
อาการ
ปวดหลังหรือท้อง
ปัสสาวะขุ่นมีตะกอน
ไม่สบายตัว
มีไข้
ปัสสาวะขัด
ปัสสาวะออกน้อย
ปัสสาวะออกไม่สุด
ปวดท้องบริเวณหัวหน่าว
ตรวจพบเม็ดเลือดขาวและ
แบคทีเรียในปัสสาว
ในปัสสาวะมีเลือดและหนองปน
ติดเชื้อเกิดขึ้นแบคที่เรียมีมากในกระเพาะปัสสาวะ แต่
ถ่ายปัสสาวะออกไม่หมดทำให้เกิดการอักเสบ ส่วนใหญ่
เกิดจากเชื้อจากอุจจาระเข้าไปในฝีเย็บ และไปยังท่อไตและ
กระเพาะปัสสาวะและไปยังเยื่อบุ
Sepsis
ภาวะการติดเชื้อในกระแสโลหิตซึ่งเกิดจากเชื้อโดยผู้ป่วยติดเชื้อแบคทีเรียที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของจากนั้นเชื้อแบคทีเรียซึมเข้าสู่กระแสเลือดหากไม่ได้รับรักษาทันทีอาจอักเสบทั่วร่างกายซึ่งทำให้ลิ่มเลือดอุดการลำเลียงออกซิเจนไปยังอวัยวะที่สำคัญของร่างกาย ไม่ได้รับออกชิเจนไปหล่อเลี้ยงอย่างเพียงพอ การของอวัยวะส่วนนั้นจึงล้มเหลว
ภาวะแทรกซ้อน
การอักเสบของท่อทางเดินปัสสาวะ (urethritis)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
ต่อมลูกหมากอักเสบ (prostatitis)
กรวยไตอักเสบ (pyelonephritis)
มีการติดเชื้อซ้ำ
เกิดความเสียหายที่ไตอย่างถาวร
เกิดการตีบแคบที่ท่อปัสสาวะ
เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย
วินิจฉัยการ
การเก็บปัสสาวะ (Urine collection)
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจคัดกรองแบบรวดเร็ว (Rapid screen methods)
การเพาะเชื้อจากปัสสาวะ (Urine culture)
การตอบสนองของภูมิคุ้มกัน ( Immunologic responses)
สรุปปัญหา
ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
มีของเสียคั่งในร่างกายเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ยา/สารน้ำที่ให้
Folic acid 1x1 o pc
Isosorbide dinitrate 10 MG 1x2 o pc
Hold if BP-c90/60mmHg.
Paracetamal 500 MG 1 TAB o prn q 4 hr
Furosemide 500 MG 1xll o pc เช้า Holde if BP -90/60
mmHg.
Lasix 500 MG. 1x2 o pc เช้า เที่ยง
:fire:
Hydalazine 25 MG 2x2 o pc Hold if BP<90/60 mmHg.
Thialamine 200 mg OD
off 31/08/62
Tazocin 2.25 gm + NSS 100 ml viq 8 hr
Vitamin D 2,00O IU 2 TAB /wk วันพุธ
Bisoprolol 2:5 MG 1x1 o pc Hold if BP_90/60 mmHg.
Manidipine 29 MG 1x1 o pc Hold if BP _90/60 mmHg
Tazocinn 0.75 gm +NSS 5o mlvafter HD (อังคาร ศุกร์)
:fire:
Atorvastatin 40 MG. 1/2 x 1 o hs
FF 1x3 o pc
Meropenam 500 mg VOD +NSS 50 ml
vancomycin 1 gv stat 330mg vq 48hr. +NSS 100 ml
vancomycin 1 gm -NSS 200 ml ข drip in 2 hr. (after HID)
Vitamin B Complex 1x2 o pc
ASA 81 MG 1x1 o pc
Phosphate solution 15 ml oral bid
Phosphate solution 30 ml oral bid
Ceftazidime 2 gm v OD+ Nss 200 ml
Cef-3 2 gm ขOD
Sodium bicarbonate 2x3 o pc
Omeprazole 20 MG 1x'l o ac
Sodium Bicarbonate 300 MG 4x3 o pc
Perm Cath
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ไม่ให้แขนข้างที่จะผ่าตัดถูกวัดความดันโลหิต เจาะเลือด หรือเข็มแทง
งดยาแอสไพรินหรือยอื่นๆที่มีผลป้องกันการแข็งตัวของเลือด
งดน้ำและอาหารอย่างน้อย 6ชม.ก่อนผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ดูแลและการใช้สายสวนสำหรับฟอกเลือด รวมทั้งการทำแผล (dressing) บริเวณผิวหนังตำแหน่งแทงสายสวนดาหลอดเลือดดำหรือเรียกว่า "eitsite" ควรทำโดยพยาบาลไตเทียมที่ได้รับการฝึกมาโดยเฉพาะ
ยกเว้นกรณีมี Bleeding ต้องทำแผลและเปลี่ยนแผ่นปิดแผลใหม่
ประเมินอาการและอาการแสดงที่ผิดปกติเกี่ยวกับสายสวนหลอดเลือดดำก่อนการใช้งาน ติดตามภาวะไข้ ชักประวัติผู้ป้วยก่อนกรทำแผลชักถามอาการปวดบริเวณทางออกของสายสวนถึงบริเวณคอ
ก่อนเปิดแผลสังเกตลักษณะของแผ่นปิดแผล ว่ามีการปิดหรือดึงรั้งหากผิดปกติหรือไม่เหมาะสม
ห้ามใช้อุปกรณ์มีคมในการเปิดแผล
สังเกต, ตรวจสอบและลงบันทึกลักษณะรอบ exit site ทุกครั้งที่เปิดทำแผล ว่าผิดปกติหรือไม่ เช่นการอักเสบ, บวม, แดง, กดเจ็บ, มีหนอง, มีเลือดซึม, และสายสวนเลื่อน
หากมีการติดเชื้อหรือพบความผิดปกติต้องรายงานให้แพทย์ทราบก่อนการฟอกเลือด
ตรวจสอบไหมเย็บที่บริเวณ suture wng ถ้ามีการเลื่อนหลุดหรือขาด ต้องให้แพทย์เย็บยึดใหม่เพื่อป้องกันสายเลื่อนเข้าออกเลื่อนหลุดทำให้เกิดการติดเชื้อและเลือดออกได้
ถ้าพบว่าสายสวนเลื่อนหลุดจากตำแหน่งเดิมให้ใช้พลาสเตอร์ยึดติดให้แน่นห้ามขยับสายสวนให้ลึกเข้าไปในหลอดเลือดและรายงานให้แพทย์ทราบทันที