Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนเพื่อการสื่อสาร (ความสำคัญของการเขียน (เป็นเครื่องแสดงออกถึงความรู…
การเขียนเพื่อการสื่อสาร
ควาหมายของการเขียน
การเขียนจึงหมายถึงการติดต่อสื่อสารโดยใช้ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์เป็นเครื่องมือถ่ายทอดที่มนุษย์ต้องการสื่อความหมาย ทั้งด้านความรู้ ความคิด ความรู้สึกและเรื่องราวต่างๆ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจจุดประสงค์การเขียนของตน
-
-
การเขียนย่อหน้า
องค์ประกอบของย่อหน้า
๑.๑ ประโยคใจความสำคัญ ได้แก่ ประโยคที่ครอบคลุมความคิดหลัก (Main Idea) คือ ความคิดที่ผู้เขียนมุ่งเสนอต่อผู้อ่าน
๑.๒ ประโยคขยายความ คือ ประโยคที่ขยายความหรือให้รายละเอียดความคิดหลักหรือประโยคใจความสำคัญให้เข้าใจชัดเจนมากขึ้น
ลักษณะของย่อหน้าที่ดี
-
๒.๒ มีสัมพันธภาพ (Coherence) หมายถึง การเรียบเรียงเชื่อมโยงแต่ละประโยคในย่อหน้าให้สละสลวยและต่อเนื่องกัน ข้อความในย่อหน้าติดกันก็ต้องมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันด้วยในการเขียนย่อหน้ามี ๒ ลักษณะ ได้แก่
๒.๒.๑ สัมพันธภาพในย่อหน้า หมายถึง ประโยคแต่ละประโยคในย่อหน้าต้องเชื่อมโยงร้อยเรียงเป็นเรื่องเดียวกัน
๒.๒.๒ สัมพันธภาพระหว่างย่อหน้า ใช้วลีเชื่อม วิธีการสร้างสัมพันธภาพระหว่างย่อหน้าก็เหมือนกับการสร้างสัมพันธภาพในย่อหน้า
-
-
การเขียนบทความ
-
-
๓. ประเภทของบทความ
๓.๑ บทความทางวิชาการ เป็นบทความที่มุ่งนำเสนอความรู้ในสาขาวิชาการต่าง ๆ ผู้เขียนมักจะรวบรวมข้อมูล ความเห็น ข้อเสนอแนะ และประสบการณ์เกี่ยวกับหัวข้อนั้น ๆจากการศึกษาค้นคว้าเอกสาร ทดลอง สังเกต สัมภาษณ์ ถ่ายภาพ ฯลฯ แล้วนำมาวิเคราะห์และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ โดยมีการอ้างอิงที่มาอย่างถูกต้อง
๓.๒ บทความทั่วไป เป็นข้อเขียนเพื่อน าเสนอแนวความคิดของผู้เขียนเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างเฉพาะเจาะจง เพื่อให้ผู้อ่านทั่วไปสามารถเข้าใจหลักการและแนวคิดของผู้เขียนได้ง่าย
-
๕. หลักการเขียนบทความ
๕.๑ ผู้เขียนควรเลือกเฉพาะเรื่องที่มีความรู้อย่างกว้างขวาง และลึกซึ้ง บางเรื่อง ควรมีประสบการณ์ตรงด้วย
-
-
-
-
-
๕.๗ ผู้เขียนต้องหมั่นค้นคว้าแสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลาเพื่อนำข้อมูลมาใช้เขียนบทความอย่างมีประสิทธิภาพ
-
-
การเขียนบันทึก
-
๑. การเขียนบันทึกกิจธุระ หรือเรียกกันทั่วไปว่า โน้ต
การเขียนบันทึกแบบนี้มีลักษณะคล้ายจดหมายควรศึกษา
ข้อปฏิบัติและสิ่งที่ควรระวังดังนี้
๑) ใช้กระดาษที่สุภาพเรียบร้อย ขนาดเหมาะสมกับข้อความที่จะเขียน ไม่ควรใช้กระดาษฉีกจากสมุด ริมกระดาษไม่ควรมีรอยหยักเป็นฟันปลา หากจ าเป็นต้องใช้ควรตัดริมให้เรียบร้อย
๒) ควรเขียนด้วยลายมือที่อ่านง่าย วางวรรณยุกต์ให้ถูกที่ การขูด ขีด ฆ่าหรือแก้ไขคำควรแก้ไขให้เป็นระเบียบและสะอาดตา
-
๔) ใช้ภาษาที่เหมาะสมกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้เขียนกับผู้รับสาร บางครั้งอาจใช้คำว่า ครับ นะคะ เพื่อลดระดับความเป็นทางการได้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม
๕) ลงชื่อผู้เขียน พร้อมด้วย วัน เดือน ปีและเวลาที่เขียนให้ชัดเจน เช่น จะมาพบในวันพรุ่งนี้ ควรระบุวันที่ด้วย (ในวงเล็บ) หรือเขียนวันที่ลงไปเลย เพราะบางคนอ่านไม่ได้ดูวันที่ข้างท้าย หรือคนเขียนลืมเสียเอง
๖) ควรเขียนส่วนประกอบให้ครบทั้ง ๒ ส่วน ได้แก่ ส่วนความเป็นมา (เหตุ) และส่วนความประสงค์ ส่วนนี้ผู้เขียนบางคนอาจปิดท้ายด้วยค าว่า ขอบคุณครับ คิดถึงจ้ะ สวัสดีค่ะ
-
การเขียนจดหมายสมัครงาน
๑. หลักการเขียนจดหมาย
-
-
-
-
๑.๕ เขียนให้มีหลักฐาน นั่นคือผู้เขียนต้องมีหลักฐานอ้างอิงในข้อกล่าวอ้างไว้ในจดหมาย และมีหลักฐานสามารถติดต่อได้สะดวก
๒. กลวิธีการเขียนจดหมาย
๑) ส่วนนำ กล่าวอ้างที่มาของแหล่งข่าวที่องค์กรนั้นประกาศรับสมัครงานให้ชัดเจนแล้วแนะนำตนเอง โดยบอกชื่อ สกุล อายุ และการศึกษา ซึ่งบอกคุณวุฒิ สาขาวิชา เกรดเฉลี่ย และสถาบันการศึกษา
๒) ส่วนเนื้อหา แจ้งความประสงค์ว่าต้องการสมัครงานตำแหน่งใดกรณีที่เขียนแบบแนบใบประวัติย่อ ให้แนะน าความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์การทำงานสั้น ๆ แล้วกล่าวเชิญให้ผู้อ่านศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากประวัติดัง
๓) ส่วนสรุป เขียนย้ำคุณสมบัติของตนเองกับตำแหน่งงานนั้นสอดคล้องกัน และตนสามารถปฏิบัติในตำแหน่งนั้นได้เป็นอย่างดียิ่ง ตั้งความหวังว่าผู้อ่านจะให้โอกาสและกรุณาเรียกตัวไปสัมภาษณ์ จบด้วยกล่าวขอบคุณ
-
-
-