Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการแนวคิดความสำคัญของทรัพยากรทางการศึกษาและการระดมทรัพยากรทางการบริหาร…
หลักการแนวคิดความสำคัญของทรัพยากรทางการศึกษาและการระดมทรัพยากรทางการบริหาร :recycle: :silhouettes: :check:
ความหมาย :warning:
พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน 2545 (2545:561)ได้ให้ความหมายของคำว่า ทรัพยากร หมายถึง ทรัพย์สิ่งของทั้งปวง และคำว่า ทรัพย์ หมายถึง เงินตรา สมบัติ เงิน ของมีค่า
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2546:1)
ให้ความหมายในวงที่แคบว่า ทรัพยากรทางการศึกษา หมายถึง ปัจจัยนำเข้า (Input) ที่นำไปใช้เพื่อการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทภายในสังคม ปัจจัยนำเข้านี้ส่วนใหญ่จะเป็นรูปของเงินงบประมาณทั้งด้านรายจ่ายเกี่ยวกับการปฏิบัติงานประจำ
ชัยอนันต์ สมุทรวณิช (2541:1)
ให้ความหมายทรัพยากรทางการศึกษาไว้ว่า หมายถึง ทรัพยากรที่มิใช่เงิน (Non-Financial Resources) และทรัพยากรทางการเงิน (Financial Resources)
ปรีชา คัมพรปกรณ์ (2541:8-10)
กล่าวว่า Bender ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับทรัพยากรไว้ 2 แนวคิด คือ แนวคิดทางด้านเศรษฐศาสตร์และแนวคิดทางด้านการบริหาร
-
-
การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาในแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
:warning:
- การระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงินและทรัพย์สินจากทุกส่วนของสังคมเพื่อนำมาใช้จัดการศึกษา
- ให้สถานศึกษามีอิสระในการบริหารงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาควบคู่กับระบบการบริหารการเงินและบัญชี ระบบการตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพ
- ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษา โดยจัดสรรเงินอุดหนุนรายบุคคลให้แก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับให้เท่าเทียมกัน
-
-