Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Diabetes Millitus in Pregnancy (อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน…
Diabetes Millitus in Pregnancy
ความหมาย
เป็นโรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรม ที่พบบ่อยในขณะตั้งครรภ์
เนื่องจากฮอร์โมนขณะตั้งครรภ์ต่อต้านการทำงานของอินซูลิน ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
เกิดเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ถ้าควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้
อาจเป็นอันตรายต่อทั้งมารดาและทารก
Risk factor
อายุ > 35 ปี
อ้วน BMI > 30
เป็นเบาหวานในครรภ์ที่ผ่านมา
เคยคลอดทารกน้ำหนักมากกว่า 4,000 g
พบน้ำตาลในปัสสาวะ
ผลของเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ผลต่อทารก
แท้ง
ทารกพิการ
ทารกตัวใหญ่ ทำให้คลอดยาก เกิดการบาดเจ็บจากการคลอด
ทารกตายในครรภ์ มักเกิดเมื่ออายุครรภ์ 36 สัปดาห์ขึ้นไป
ทารกตายหลังคลอด
คลอดก่อนกำหนด และเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ผลต่อมารดา
ครรภ์เป็นพิษ
ติดเชื้อง่าย อวัยวะที่ติดเชื้อที่พบบ่อย ระบบปัสสาวะ
คลอดก่อนกำหนด
คลอดยาก จากทารกตัวใหญ่ โอกาสที่ช่องคลอดจะฉีกขาดมาก ยช้า
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีทำให้ตกเลือดหลังคลอดได้
การวินิจฉัยว่าเป็น GDM
ระดับน้ำตาลในเลือดเมื่องดน้ำและอาหาร 8-14 hr (>126mg/dL)
HbA 1 C > 6.5 %
การตรวจหา HbA1C เป็นการตรวจหา glucose ที่จับอยู่กับ hemoglobin ใน RBC
แสดงถึงการควบคุมน้ำตาลในระยะ 4-12 Wks ที่ผ่านมา
ระดับน้ำตาลในเลือดเมื่อไม่ได้อดอาหาร > 200 mg/dL
การวินิจฉัย overt DM
A1C มากกว่าหรือเท่ากับ 6.5 %
FBS > 126 mg/dl
2 hour plasma glucose > 200 mg/dl
ปัสสาวะมาก กระหายน้ำ Random plasma glucose > 200 mg/dl
การดูแลรักษา GDM A1
Diet control , Exercise
F/U ระดับน้ำตาลในเลือด
หลังคลอด 6 Wks นัดตรวจ 75g-OGTT
การดูแลรักษา GDM A2
เริ่มฉีด insulin เมื่อ FPG > 120 หรือ 2hrPP > 120 mg/dl
เป้าหมายคือ FPG 60-90 และ 2hrPP < 120
เร่งคลอดตามข้อบ่งชี้ ตรวจความสมบูรณ์ของปอดทารก
หยุดฉีด Insulin ทันทีหลังคลอด
อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน
โปรตีน เช่น เนื้อสัตว์ ไข่ โดยเน้นรับประทานเนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่ำ และไม่ติดมัน ไม่ติดหนัง ให้ใช้การต้ม ตุ๋น นึ่ง ลวก อบ ย่าง แทนการผัดและการทอด
ผัก มีใยอาหารและวิตามินมาก สามารถเลือกรับประทานได้มากเท่าที่ต้องการ
ผลไม้ที่รับประทานควรเป็นผลไม้ที่มีน้ำตาลน้อย รสไม่หวานจัด
ควรดื่มนมสดชนิดจืด และพร่องมันเนย หรือนมสดขาดมันเนย เพื่อหลีกเลี่ยงไขมันในนม
รับประทานข้าวซ้อมมือ หรือขนมปังโฮลวีต ซึ่งจะมีใยอาหารมากกว่าข้าวขาว หลีกเลี่ยงข้าวเหนียว เพราะมีพลังงานสูง
ควรหลีกเลี่ยงการผัดและการทอด หากจำเป็นควรใช้ไขมันจากพืช เช่น น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันข้าวโพด
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
ควบคุมน้ำตาล ป้องกันไม่ให้การดำเนินโรครุนแรงขึ้น
GDM : 2hrPP < 200 mg/dl
Overt DM : Premeal 60-99 mg/dl , HbA1C < 6 %
ประเมิน NST , CST การดิ้นของทารก
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
การพยาบาลระยะก่อนตั้งครรภ์
อธิบายความเสี่ยงเเละผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
คุมยาคุมกำเนิดจนกระทั่งควบคุมน้ำตาลได้ ป้องกันการแท้ง
แนะนำให้คุมน้ำตาลให้ได้อย่างน้อย 3 เดือนก่อนตั้งครรภ์
เมื่อพร้อมตั้งครรภ์ เปลี่ยนยากินเป็นยาฉัด เพื่อป้องกันความพิการแต่กำเนิดของทารก
ฝากครรภ์ทันที เพื่อป้องกันภาวะเเทรกซ้อนต่างๆ
การพยาบาลระยะคลอด
GDMA1 ไม่ใช้ insulin
ดูแลปกติเหมือนผู้คลอดทั่วไป
GDMA2 ใช้ insulin
control glucose
complication
ให้คลอดตามข้อบ่งชี้
Overt DM ใช้ Insulin
Control glucose
Complication
ให้คลอดตามข้อบ่งชี้
การพยาบาลระยะหลังคลอด
GDMA1
ดูแลเหมือนหญิงหลังคลอดปกติ
75-OGTT ช่วง 6 Wks หลังคลอด
GDMA2
หยุด insulin ทันที
ติดตามระดับน้ำตาลขณะอยู่ รพ
75-OGTT 6 Wks หลังคลอด
Overt DM
Control glucose
ปรับขนาดยาตามแผนการรักษา
Complication
แนะนำให้ฉีดยาคุมกำเนิด งดใช้ยากิน
การพยาบาลทารกแรกเกิด
ประเมินความพิการแต่กำเนิดของทารก
ประเมินภาวะ neonatal hypoglycemia
ร้องเสียงสูง ร้องเบาลง เขียว หยุดหายใจ สั่นแขนขา
Feeding ภายใน 30 นาทีแรกเกิด และทุก 2-3 hr เพื่อป้องกัน Hypoglycemia