Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Anemia in Pregnancy 2157fa421fad0d0 ((การขาดธาตุเหล็ก) (ยาเสริมธาตุเหล็ก…
Anemia in Pregnancy
-
(การขาดธาตุเหล็ก)
-
การแบ่งระยะ
-
Erythropoiesis defect
-
-
Plasma iron, transferrin ลดลง
-
-
-
-
-
-
ผลกระทบ
ผลต่อมารดา
หัวใจเต้นผิดปกติ CHF โดยเฉพาะใน severe anemia Shock หรือไตส้มเหลวง่ายกว่าผู้คลอดปกติ nfection รกลอกตัวก่อนกำหนด Pre-eclampsia
ผลต่อทารก
แท้ง คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า ปกติ พิการแต่กำเนิด เสียชีวิตในครรภ์ ตายคลอด อัตราการตายของทารกแรกเกิดเพิ่มขึ้น
การตั้งครรภ์ต่อโรค
ขณะตั้งครรภ์โลหิตจางอาจรุนแรงขึ้น จาก plasma เพิ่มมากกว่า RBC ทำให้เลือดมีความหนืดลดลง ร่างกายจึงต้องการธาตุเหล็กเพื่อช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดงมากขึ้น
-
(การขาดวิตามินบี 12)
อาการและอาการแสดง
เหมือนกับการขาดเหล็กและกรดโฟลิค เพิ่มมีอาการทางประสาท เนื่องจากการเสื่อมของเส้นประสาทไขสันหลัง (Degeneration at Lateral & Posterior column of spinal cord)
-
การวินิจฉัย
- จากประวัติ และ การตรวจร่างกาย
- Laboratory reports CBC : Hct. < 30 % RBC morphology : Macrocytosis
- Trial error โดยฉีด วิตามิน บี 12 วันละ 1,000 ไมโครกรัม
-
ความหมาย
การขาดโฟเลต (serum folate <2.5-3 ug/mL) เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ของ megaloblastic anemia (MCV >100 fL)ขณะตั้งครรภ์พบการขาดโฟเลตน้อยกว่าการขาดธาตุเหล็กแต่พบร่วมกับการขาดธาตุเหล็กได้บ่อยการขาดโฟเลตในสตรีมีครรภ์พบได้บ่อยขึ้นเนื่องจากความต้องการโฟเลตในการสร้างเม็ดเลือดของมารตาและทารกเพิ่มขึ้น แต่มารดารับประทานอาหารที่มีโฟเลตไม่พอเพียงพบอุปัติการณ์สูงขึ้นในการตั้งครรภ์แฝด ภาวะทุพโภชนาการ การติดเชื้อเฉียบพลัน การไต้รับยาระงับซักบางชนิด เช่น ยา hydantoin ซึ่งจะรบกวนการดูดซึมโฟเลต เป็นต้น
ผลกระทบ
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
ระยะตั้งครรภ์ต้องการโฟเลตเพิ่มขึ้น เพื่อช่วยสังเคราะทDNA การเจริญเติบโตของทารกและรก การสร้าง RBC ในไขกระดูก " สตรีที่ไม่ตั้งครรภ์ต้องการวัน ละ 50-100 นg สตรีมีครรภ์ ต้องการโฟเลตวันละ 400 ug " ร่างกายสังเคราะห์โฟเลตเองไม่ได้ หากได้รับไม่พอ หรือสะสมไว้ไม่พอจะทำให้เกิดโลหิตจาง กรืออาการของโรคที่เป็นอยู่เดิมรุนแรงขึ้น
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อทารก เกิดผลกระทบน้อยเนื่องจากทารกสามารถดึงโฟเลตจากมารตาไต้ดี ถึงมารดาจะซีดมากแต่ทารกก็จะไม่ซีดด้วย
-
การรักษา
รับประทานหรือฉีดโฟเลตวันละ 1 มก.ซึ่งจะตอบสนองต่อการรักษา ประมาณวันที่ 4-7 หลังจากให้ยา โดยจะพบ reticulocyte เพิ่มขึ้นอย่าง ซัดเจนและพบการเพิ่มขึ้น ของเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดด้วย
การป้องกัน
ขณะตั้งครรภ์ให้กรดโฟลิค เสริมวันละ 400 หg ซึ่งจะ ช่วยลดอุปัติการณ์ของภาวะ megaloblastic anemia และช่วยป้องกันภาวะ neural tube defects (NTD) ในทารกไต้ในรายที่เคยมีบุตรเป็น NTD แนะนำให้รับประทานวันละ 4 มก ตั้งแต่ 3 เดือนก่อนการตั้งครรภ์
ภาวะปกติ
ในหญิงตั้งครรภ์ปกติความเข้มข้นของเลือดจะลดต่ำลงไปเล็กน้อยจากการที่มีปริมาณพลาสมา ( plasma ) ที่เพิ่มขึ้นมากกว่าการเพิ่มของเม็ดเลือดแดง
อาหารเสริม
ธาตุเหล็กสูง
ไข่ พืชและผักใบเขียวต่างๆถั่วเมล็ดแห้ง : ควรรับประทานร่วมกับอาหารที่มีวิตามินซีสูงในมื้อเดียวก้นเพื่อช่วยในการดูดซึม
เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ และอาหารทะเละ ราตุเหล็กในอาหารกลุ่มนี้จะถูกคูดซึมเข้า สู่กระแสเลือดได้ดีที่สุด เมื่อรับประทานร่วมกับอาหารที่มีวิตามินซีสูงจะยิ่งช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็กได้มากขึ้น
-
การพยาบาล
ระยะคลอด
-
-
-
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด ประเมิน FHS ทุก 5 นาที ประเมิน VIS ทุก 1-2 ซม. ถ้า BP <100/60 หรือ PR > 100 หรือ RR > 24/min รายงานแพทย์ เตรียมให้ ออกซิเจน
-
-
-
ระยะตั้งครรภ์
-
-
การรับประทานอาหาร ครบ 5 หมู่ ธาตุเหล็กสูง โฟเลตสูง วิตามินซีสูง การรับประทานยาและการสังเกต S/E (ธาตุเหล็ก หรือ folic acid)
-
-
-
-