Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ (การบำบัดรักษาผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ…
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ
Gender Identity Disorder
ประเภท
ความผิดปกติในการรับรู้ หรือการยอมรับเพศทางร่างกายของตน (Gender identity disorders)
ความต้องการเปลี่ยนเพศ (Transsexualism)
ความฝักใฝ่ ทางเพศที่ผิดปกติ(Disorders of sexual preference or paraphilias)
สาเหตุ
ปัจจัยทางด้านสังคม ครอบครัวที่อยู่อย่างแออัด การอยู่ในครอบครัวหรือสิ่งแวดล้อมที่
โหดร้ายทํารุณ
ปัจจัยทางจิตใจ ปัจจัยด้านการพัฒนาการทางบุคลิกภาพ และความขัดแย้งในจิตไร้สํานึก
ความหมาย
ความผิดปกติในเอกลักษณ์ทางเพศ
หมายถึง พฤติกรรมทางเพศที่ทำให้ตนเองหรือผู้อื่นเดือดร้อน ไม่สามารถมุ่งความสนใจไปที่คู่ร่วมไม่เกี่ยวข้องกับการกระตุ้นอวัยวะเพศ เกิดขึ้นร่วมกับความรู้สึกผิดและความกังวล
ไม่เหมาะสม
เกณฑ์การวินิจฉัย
B. มีความรู้สึกอึดอัดไม่สบายใจกับเพศของตน หรือรู้สึกว่าบทบาทตามเพศของตนเองไม่เหมาะสมอยู่ตลอด
C. ความผิดปกตินี้ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมกับภาวะที่มีลักษณะกายภาพทางเพศกํากวม
A. การเอาแบบอย่างเพศตรงข้ามอย่างชัดเจนและเป็นอยู่ตลอด การที่เป็นอีกเพศหนึ่งตามวัฒนธรรมนั้นๆ สําหรับในเด็กความผิดปกตินี้ ประกอบด้วยลักษณะต่อไปนี้ ตั้งแต่ 4 ข้อขึ้นไป
(2) ในเด็กชายชอบแต่งตัวชุดผู้หญิงหรือคล้ายชุดผู้หญิง ในเด็กหญิงมีกํารยืนยันว่าจะใส่แต่ชุดที่ใส่กัน เฉพาะเพศชาย
3) ชอบเล่นเป็นเพศตรงกันข้ามมากในการเล่นสมมุติหรือมีจินตนาการว่าเป็น เพศตรงกันข้าม โดยเป็นอยู่ตลอด
(1) แสดงความต้องการเป็นเพศตรงกันข้ามอยู่เสมอ หรือยืนยันว่าตนเองเป็นเพศตรงกันข้าม
(4) ต้องกํารร่วมในเกมที่เป็นของเพศตรงข้าม หรือมีงานอดิเรกแบบเพศตรงข้ามมาก
(5) ต้องการที่จะมีเพื่อนคู่หูเป็นเพศตรงข้ามอย่างมาก
D. ความผิดปกตินี้ก่อให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมาน และกิจกรรมด้านสังคมการงาน หรือด้านอื่นๆที่สําคัญ บกพร่องลง
Sexual Function Disorder
ลักษณะอาการ
2.Excitement phase
male erectile dysfunction
female sexual arousal disorder
vaginismus
sexual pain disorder
Orgasmic phase
female orgasmic disorder
ratarded ejaculation
premature ejaculation
anhedonic ejaculation
1.Appetitive
hypoactive sexual disorder
sexual aversion disorder
4.Resolution phase
Postcoital headache
Postcoital dysphoria
Priapism
สาเหตุ
ปัจจัยทางความสัมพันธ์ เป็นปัญหาสัมพันธภาพของคู่สมรส ได้แก่
1.ความแตกต่างกันในเรื่องความสนใจและความต้องการทางเพศ
2.ขาดความดึงดูดใจทางเพศ
3.ขาดการสื่อสาร
4.ขาดความเชื่อถือไว้วางใจ
ปัจจัยทางวัฒนธรรม ประกอบด้วย
ได้รับความรู้ที่ผิดในเรื่องเพศ
ขาดความรู้เรื่องเพศศึกษา
มาตรฐานทางสังคมที่แตกต่างกันของหญิงและชาย
ทัศนคติและการไม่พูดถึงเรื่องเพศ
ปัจจัยทางจิตใจและอารมณ์ ประกอบด้วย
ประสบการณ์ในวัยเด็ก
การมองภาพลักษณ์ของตนเอง
ความเครียดและวิตกกังวล
ปัจจัยทางร่างกายและชีวภาพ ประกอบด้วย 1. โรคทางกาย
ระดับของฮอร์โมน
การได้รับยาและสารบางประเภท
การบำบัดรักษาผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ
การรักษาด้วยยา (Psychopharmacology)
จิตบําบัด (Psychotherapy)
การรักษาด้วยสิ่งแวดล้อม (Milieu therapy)
การรักษาด้วย (Sex therapy)
พฤติกรรมบําบัด (Behavior therapy)