Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินการแก้ไขปัญหา (ขั้นตอนการดำเนินการ (5.การกำหนดกิจกรรมหรือกลยุทธ์,…
การดำเนินการแก้ไขปัญหา
การวางแผน
ประเภทแผนงาน
แบ่งตามสายบังคับบัญชา
ระดับกระทรวง
ระดับกรม หรือสำนักงาน
ระดับชาติ
ระดับกองหรือระดับฝ่าย
แบ่งตามหลักเศรษฐศาสตร์
ระดับมหาภาค เป็นแผนระดับสูง
ระดับรายสาขา เป็นแผนเฉพาะเจาะจง
แบ่งตามสถานที่หรือขอบเขต
ระดับจังหวัด
คณะกรรมการพัฒนาจังหวัด มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน
ระดับอำเภอ
คณะกรรมการพัฒนาอำเภอ มีนายอำเภอเป็นประธาน
ระดับภาค
ศูนย์พัฒนาภาค
ระดับตำบล
องค์การบริหารส่วนตำบล
ระดับชาติ
คณะกรรมการที่รัฐบาลตั้งขึ้น
แบ่งตามการใช้ประโยชน์
ระดับนโยบาย
ระดับปฏิบัติการ
แบ่งตามระยะเวลา
ระยะปานกลาง
3-5 ปี
ระยะยาว
5-10 ปี
ระยะสั้น
1 ปี หรือ<1ปี(แผนตามปีงบประมาณ)
ตัวชี้วัด
ประเภท
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
ตัวชี้วัดคุณภาพ
การเขียนตัวชี้วัดความสำเร็จ
หลักการเขียน ต้องมีปริมาณ คุณลักษณะ เวลา กลุ่มเป้าหมาย และสถานที่
กำหนดค่าของตัวชี้วัด ได้แก่ จำนวนร้อยละ สัดส่วน อัตราส่วน อัตรา และค่าเฉลี่ย
กำหนดประเด็นตัวชี้วัด ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของแผนงาน
วัตถุประสงค์และเป้าหมายในการตั้งตัวชี้วัด
แสดงผลสำเร็จ ที่แสดงถึงผลสัมฤทธิ์ของกิจกรรม
วัดประสิทธิผล ผลผลิต ตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย
แสดงผลที่ได้รับใช้วัดผลงานเมื่อทำโครงการเสร็จสิ้น
วัดผลงานที่แสดงค่าใช้จ่ายต่อหน่วยผลผลิต
แสดงการกระทำที่เกิดขึ้น ใช้วัดความสำเร็จของกิจกรรม
ผลกระทบ ใช้วัดผลที่เกิดจากนโยบาย
แสดงปัจจัยนำเข้า ใช้วัดเมื่อดำเนินการพัฒนา
หลักการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ครอบคลุมประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และมีเครื่องมือวัดที่ดี
วัดระดับความสำเร็จ โดยนำมาเปรียบเทียบกับเป้าหมาย หรือเกณฑ์
กำหนดให้ครอบคลุมต่อวัตถุประสงค์ วัดได้ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ลักษณะสำคัญของการวางแผน
เป็นกระบวนการที่ทำให้มองเห็นจุดหมายในอนาคต
เป็นแนวทางให้มองเห็นอุปสรรคและปัญหา เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไข ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา
เป็นตัวกำหนดทิศทางในการตัดสินใจ ป้องกันไม่ให้เกิดการตัดสินใจแบบแก้ไขเฉพาะหน้า
เป็นหลักการให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการปฏิบัติงาน
เป็นแนวทางปฏิบัติเรียนรู้วิธีการล่วงหน้าก่อนปฏิบัติจริง
การวางแผนแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน
แผนแม่บทหรือแผนงานหลัก
เป็นแผนที่เกิดจากการรวมแผนทั้งหมดภายในองค์กรเข้าไว้ด้วยกัน
แผนงานโครงการ
เป็นแผนงานย่อยที่ขยายรายละเอียดของแผนงานหลัก
ขั้นตอนการดำเนินการ
3.การตั้งวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการแก้ปัญหา
4.การทบทวนอุปสรรคและข้อจำกัด
2.การเลือกปัญหาที่สำคัญ
5.การกำหนดกิจกรรมหรือกลยุทธ์
5.1 แนวทางหรือกลวิธีหลัก
5.2 แนวทางหรืแกลวิธีสนับสนุน
การวิเคราะห์สถานการณ์
6.การประเมินผล
การเขียนโครงการ