Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 ทฤษฎีและกระบวนการบริหารการศึกษา (ทฤษฎีการบริหารการศึกษา…
บทที่ 3 ทฤษฎีและกระบวนการบริหารการศึกษา
ทฤษฎีการบริหารการศึกษา
ยุคคลาสสิกใหม่
แนวคิดการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์
แนวคิดที่ยึดหลักธรรมชาติ
แนวคิดของระบบเปิดที่ให้ความสำคัญของคน โดยใช้ความรู้หลากหลายวิชา
แนวคิดการบริหารโดยยึดหลักเหตุผลหรือหลักการเชิงวิทยาศาสตร์
แนวคิดบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์
แนวคิดการบริหารของ Mary Parker Follett กล่าวถึงแนวทางการขจัดปัญหาความขัดแย้ง โดยมีแนวทาง 3 ประการ 1) Domination 2) Compromise 3) Integration
การทดลอง Hawthorne
ข้อสรุป
บุคลากรทำงานได้ดีถ้าได้รับการเอาใจใส่จากนายจ้าง
ขวัญกำลังใจในการทำงานมีความสำคัญ
ปริมาณผลผลิตการทำงานขึ้นกับสภาพทางกายและสภาพสังคม
การบริหารเกี่ยวข้องทั้งผู้จัดการและการจัดระบบงานของคนงาน
การที่คนงานมีความสัมพันธ์เป็นกลุ่มอย่างไม่เป็นทางการ จะช่วยให้คนงานมีความสามัคคีและจงรักภักดีต่อหน่วยงาน
องค์การอรูปนัย เกิดจากปัจจัยหลายประการที่เกี่ยวข้องกับปฏิสัมพันธ์ของสมาชิกกลุ่มอย่างไม่เป็นทางการ
ข้อสรุปสำคัญ
ทุกองค์การมีกลุ่มไม่เป็นทางการควบคู่กับโครงสร้างที่เป็นทางการ
กลุ่มไม่เป็นทางการก่อให้เกิดบรรทัดฐานและจรรยาบรรณ
การได้รับการยอมรับ มีผลต่อขวัญกำลังใจในการทำงาน
ความพยายามและความจงรักภักดีต่อกลุ่ม เป็นแนวคิดในการวิเคราะห์พฤติกรรมบุคคลและกลุ่ม
คนงานได้รับแรงจูงใจจากความต้องการทางสังคม
ขวัญกำลังใจและความพึงพอใจในการทำงานส่งผลเชิงบวกต่อผลิตภาพ
ยุคสมัยใหม่
การบริหารตามสถานการณ์ คือการบริหารที่มุ่งเน้นคิดตามสถานการณ์ เพื่อให้เข้าใจว่าควรใช้เทคนิคบริหารอะไร จึงจะทำให้องค์การสามารถบรรลุผลได้
การบริหารแบบมีส่วนร่วม คือการบริหารที่เน้นให้ผู้บริหารพิจารณาความแตกต่างภายในหน่วยงาน เพื่อแก้ปัญหาลดความขัดแย้งผ่านการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม
ยุคคลาสสิก เป็นการบริหารช่วงยุควิทยาศาสตร์ ซึ่งนับเป็นหลักการพื้นฐานตัดสินใจเกี่ยวกับองค์การและการออกแบบงานที่เที่ยงตรง โดยเป็นการบริหารงานที่มุ่งเน้นผลผลิตและงานเป็นหลัก
หน้าที่และกระบวนการบริหารการศึกษา
หน้าที่ทางการบริหารการศึกษา
หน้าที่เชิงกระบวนการ
ภาระหน้าที่ที่สำคัญของนักบริหาร 7 ประการ (POSDCoRB)
Directing การวินิจฉัยสั่งการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
Coordinating การประสานงานหรือสร้างความสัมพันธ์ในหน่วยงาน เพื่อให้องค์การดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
Staffing การบริหารงานบุคคลเพื่อบำรุงรักษาบุคลากรให้อยู่ในสภาพการทำงานที่ดีเสมอ
Reporting การเสนอรายงานให้ผู้บริหาร เพื่อสามารถปรับปรุงงานได้ทันที
Organizing การจัดรูปโครงสร้างหรือเค้าโครงการบริหารให้ชัดเจน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
Budgeting การจัดทำงบประมาณให้เป็นไปโดยรัดกุม
Planning การวางแผนหาวิธีปฏิบัติงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
4 Basic management functions (POLC)
Organizing การจัดการองค์กรเพื่อให้การทำงานทุกภาคส่วนสอดคล้อง ราบรื่น
Leading ภาวะการเป็นผู้นำในการควบคุมทำงานให้ลุล่วง โดยสร้างแรงจูงใจให้ทุกคนอยากร่วมทำงาน
Planing การกำหนดกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติในแต่ละช่วงเวลา เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน
Controlling การควบคุมดูแลบุคลาการให้ทำงานเป็นไปตามแผนที่วางไว้
หน้าที่เชิงภารกิจ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กรและหน่วยงานทางการศึกษา เพราเป็นการบริหารคนให้มีประสิทธิภาพ
การบริหารงบประมาณ เน้นการบริหารขอบข่ายและแหล่งที่มาของงบประมาณ รวมถึงการจัดหมวดหมู่รายจ่าย
การบริหารกิจการนักเรียน คือการดำเนินงานดูแลสุขภาวะทางกายและใจของนักเรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเรียนรู้
การบริหารทั่วไปและสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ เป็นการบริหารงานเอกสารรวมถึงการบริหารงานอื่นที่ทำให้สถานศึกษามีผลงานที่สำเร็จอย่างมีประสิทธิผล
การบริหารงานวิชาการ คือการดำเนินงานกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แก่ผู้เรียน
กระบวนการบริหารการศึกษา
PDCA
Do การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานอย่างเป็นระบบ
Check การตรวจสอบผลการดำเนินงาน ว่ามีปัญหาใดเกิดขึ้น และแก้ไขอย่างไร
Plan การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
Action การปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา หากไม่พบปัญหาก็ยอมรับแนวทางการปฏิบัติงานที่ได้ผลสำเร็จ
PIE
Implementation การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ
Evaluation การประเมินผล
Plan การวางแผน