Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะไม่สุขสบายในระยะตั้งครรภ์ (Morning sickness (ทานยาธาตุเหล็กก่อนนอน…
ภาวะไม่สุขสบายในระยะตั้งครรภ์
ปัสสวะบ่อย
อธิบายสาเหตุ
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มคาเฟอีน
ไม่กลั้นปัสสวะ
ดื่มน้ำวันละ 8 แก้ว แต่น้อยลงกลางคืน
Kegel Excercise
Fatigue
หลับสั้นๆกลางวัน
ออกกำลังกาย
Morning sickness
ดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน และน้ำอัดลม
ทานยาธาตุเหล็กก่อนนอน ลดคลื่นไส้อาเจียน
การรักษาแบบใช้ยา เช่น
วิตามินB6 ยาแก้คลื่นไส้
ดื่มเครื่องดื่มอุ่น ๆ เช่น นม น้ำขิง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกลิ่นฉุน รสจัด ไขมันสูง
รับประทานอาหารน้อย แต่บ่อยครั้ง
การกดจุด
รับประทานอาหารไปด้วยระหว่างมื้อ เช่น ขนมปังกรอบ
เปลี่ยนอิริยาบถอย่างช้าๆ ไม่ควรลุกพรวดพราด
ไม่นอนหลังจากรับประทานอาหาร
พักผ่อนให้เพียงพอ
หลีกเลี่ยงอาหารที่ย่อยยากและสิ่งกระตุ้นทำให้คลื่นไส้อาเจียน)
เมื่อรู้สึกคลื่นไส้ ให้รับประทานอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย เช่น ข้าว กล้วย ซุปไก่
แปรงฟันหลังจากรับประทานอาหาร 1 ชั่วโมง
ริดสีดวงทวาร (HEMORRHOIDS)
ฝึกการขับถ่ายให้เป็นนิสัย โดยฝึกนั่งถ่ายทุกวัน
รับประทานผักและผลไม้
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว
ออกกำลังกายระดับเบาถึงปานกลางอย่างสม่ำเสมอ
นั่งแช่ก้นในน้ำอุ่นประมาณ 20 นาที
นั่งท่างอเข่า ให้เข่าจรดหน้าอก วันละ 10-15 นาที ในช่วงเวลากลางคืน
ประคบเย็นบริเวณก้อนริดสีดวง ด้วยแผ่นผ้า หรือแผ่นเจล
Hypotention
Postural Hypotension
เคลื่อนไหวอย่่างช้าๆ
นั่งหรือยืนนานๆ ให้ขยับปลายเท้า
หน้ามืด เวียนศรีษะ ให้นอนตะแคง
Vasovagal syncope
คลายเสื้อผ้าให้หลวม
ดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว
จิบน้ำหวาน
แนะนำรับประทานธาตุเหล็ก
อยู่ในที่่อากาศถ่ายเทสะดวก
นอนราบ
Supine Hypotension
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
เคยมีประวัติความดันโลหิตต่ำ แนะนำให้นอนตะแคง
แนะนำท่าทางการพักผ่อนที่ถูกต้อง
คำแนะนำเพิ่มเติม
อย่าแช่น้ำร้อน
สวมใส่เสื้อผ้าที่สบายๆ
ออกกำลังกายระดับปานกลาง เพิ่มการไหลเวียนเลือด
ตะคริว leg cramp
ไม่ยืนนาน ไม่นั่งห้อยข้อเท้านาน
ใส่รองเท้าส้นเตี้ย ไม่ใส่เสื้อผ้าหรือถุงน่องรัดแน่น
ถ้าปวดตะคริวมากจนเดินไม่ได้ให้เหยียดน่อง กดเข่าและกระดกปลายเท้าขึ้น
ขยับขาบ่อยๆและกินแคลเซียม
งดเครื่องดื่มที่มีฟอสฟอรัสสูง เช่น โซดา น้ำอัดลม
ท้องอืด
ขับถ่ายอุจจาระให้เป็นนิสัย
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส เช่น น้ำอัดลม กะหล่ำปลี
เลือกอาหารที่ย่อยง่ายเคี้ยวให้นานแล้วละเอียดมากขึ้น
รับประทานอาหารทีละน้อย
ออกกำลังสม่ำเสมอ เพื่อให้ลำไส้มีการเคลื่อนไหวได้ดี
ปวดหลัง (Backache)
สตรีตั้งครรภ์จะมีอาการปวดหลังที่บริเวณ
กระดูกสันหลังส่วนบั้นเอว (Lumbar region)
อาการปวดหลังจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อมดลูกมีขนาดโตขึ้น
กระดูกสันหลังโค้งแอ่น (Lordosis)
บริเวณข้อต่อกระดูกสันหลังและเชิงกรานหลวม
การให้คำแนะนำและการพยาบาล
การนั่งหรือยืนให้คอไหล่และหลังอยู่ในแนวตรง
ไม่ควรก้มเก็บของแต่ควรย่อเข่าลงก่อนแล้วค่อยเก็บของ
ไม่ควรก้มเก็บของแต่ควรย่อเข่าลงก่อนแล้วค่อยเก็บของ
หลีกเลี่ยงการใส่รองเท้าส้นสูง
นอนตะแคงใช้หมอนหรือผ้าหนุนหลังและข้อพับเข่า
สตรีตั้งครรภ์ที่ยืนนานๆควรวางเท้าข้างหนึ่งบนเก้าอี้เตี้ยๆ
ผ่อนคลายกล้ามเนื้อโดยใช้ความร้อน-เย็นประคบเป็นเวลา 30 นาที
สาเหตุอาการปวดหลังของหญิงตั้งครรภ์
น้ำหนักตัวที่เพิ่มมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน Relaxin ส่งผลให้เส้นเอ็นและกระดูกสันหลังหลวมเพื่อเปิดช่องคลอด ทำให้มีอาหารปวดหลัง
ความเครียด
กล้ามเนื้อตรงส่วนกลางของลำตัวแยกตัว
การทรงตัวและท่าทางต่างๆ
ที่มา : www.samitivejhospital.com
หายใจลำบาก Dyspnea
ให้พักผ่อนนอนหลับบ่อยๆ
สาเหตุ
อาจพบในไตรมาสแรกเนื่องจากอิทธิพลของ Progesterone
ส่วนใหญ่พบในไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์เนื่องจากขนาดของมดลูกโตขึ้นไปเบียดกระบังลมและปอดจึงทำให้มีอาการหายใจลำบาก
นอนหนุนหมอนหรือนอนหงายศีรษะสูง โดยจัดท่าให้ศีรษะสูงเเละลำตัวสูงประมาณ 30 องศา เพื่อไม่ให้มดลูกกดทับกะบังลมเเละปอดทำให้หายใจสะดวกขึ้น
ถ้ามีอาการเจ็บหน้าอก หรือไอเป็นเลือด มีไข้ ควรปรึกษาแพทย์
ควรวินิจฉัยแยกโรคจากโรคอื่นด้วย เช่น หอบหืด
ควรนั่งหลังตรง อกผายไหล่ผึ่งจะช่วยให้ปอดขยายเเละมีความจุอากาศมากขึ้น
ถ้ามีอาการหายใจลำบากขณะทำกิจวัตรประจำวัน หรือขณะออกกำลังกาย ควรลดกิจวัตรประจำวัน เเละลดระดับการออกกำลังกายให้น้อยลง
เส้นเลือดขอด
การพยาบาล
เลี่ยงการยืนนานๆ
ส่วมใส่ถุงน่อง
ยกปลายเท้าสูง กระดกปลายเท่าขึ้น2-3 ครั้งทุก2-3นาที
ขณะนั่งทำงานนานๆให้ลุกเดินทุก2 ชม.
กรณีเกิดเส้นเลือดขอดบริเวณอวัยวะภายนอกให้นอนตะแคง15-20นาที วันละ2 ครั้ง
รับประทานวิตามินcและผลไม้ทุกๆวัน
สวมใส่เสื้อผ้าไม่รัดแน่น
ความหมาย
การขยายตัวของเส้นเลือดดำพบบ่อยในสตรีที่มีประวัติทางพันธุกรรมเป็นเส้นเลือดขอด
สาเหตุ
ลิ้นของเส้นเลือดดำปิดไม่สนิท ทำให้เลือดมีการไหลย้อนกลับ ทำให้ความดันในเส้นเลือดสูงขึ้น จึงเกิดการขยายตัว และโปร่งพอง
ท้องผูก (Constipation)
การให้คำแนะนำและการพยาบาล
สร้างลักษณะนิสัยในการขับถ่าย โดยฝึกการขับถ่ายทุกวัน
ยาธาตุเหล็กจะดูดซึมได้เร็วตอนกระเพาะอาหารว่าง
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เช่น เดิน ว่ายน้ำ ปั่นจักรยาน
ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส เช่น กะหล่ำปลี ถั่ว
ดื่มน้ำมากๆวันละอย่างน้อย 8 แก้ว หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
หลีกเลี่ยงการสวนอุจจาระ
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีใยอาหารสูง (Fiber) ให้มากขึ้น เช่น ผัก ผลไม้และธัญพืช(Whole grain)
ไม่ควรใช้ยาถ่ายหรือยาระบาย
ประเมินพฤติกรรมการขับถ่ายอุจจาระของสตรีตั้งครรภ์ เช่น ความถี่ของการขับถ่าย
เมื่อรู้สึกอยากขับถ่ายให้รีบขับถ่ายทันที
สาเหตุ
เกิดขึ้นเมื่อลำไส้มีการบีบตัวหรือเคลื่อนตัวช้าในระหว่างการย่อยอาหาร ทำให้ไม่สามารถกำจัดอุจจาระออกจากระบบทางเดินอาหารได้อย่างปกติ
เกิดการตกค้างในลำไส้ใหญ่เป็นเวลานานจนมีการดูดน้ำในอุจจาระกลับ อุจจาระจึงมีลักษณะแห้ง แข็ง และมีขนาดใหญ่ขึ้น ทำให้ถ่ายออกได้ลำบาก
อาการ
รู้สึกถ่ายอุจจาระไม่ออก หรือถ่ายได้ไม่สุด
ถ่ายอุจจาระออกได้ยาก ต้องใช้แรงเบ่งมากหรือใช้มือช่วยล้วง อาจมีอาการเจ็บขณะถ่ายอุจจาระร่วมด้วย
อุจจาระมีลักษณะเป็นก้อนแข็ง เป็นเม็ดเล็กๆ
ท้องอืด ปวดท้อง หรือปวดเกร็งบริเวณหน้าท้อง
ถ่ายอุจจาระน้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์หรือน้อยกว่าปกติที่เคยเป็น
การรักษา
ฝึกบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
การผ่าตัด
รักษาด้วยการใช้ยา
ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตและรับประทานอาหาร
การวินิจฉัยอาการท้องผูก
การเอกซเรย์ช่องท้อง
การตรวจการทำงานของลำไส้ส่วนปลายและกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนัก
การตรวจเลือด
การส่องกล้องตรวจ
การตรวจทางทวารหนัก
การตรวจวัดกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนัก
เต้านมคัดตึง
อธิบายการเปลี่ยนแปลงของเต้านมให้เข้าใจ
แนะนำใส่ยกทรงให้พอดีกับเต้านม
ถ้ามีอาการปวดเต้านมมากและมีการอักเสบเป็นฝี ควรปรึกษาแพทย์
สนับสนุนให้บุตรดูดนมเร็วและบ่อย อย่างน้อยทุก2-3ชม.
ประคบร้อนด้วยผ้าชุบน้ำอุ่นพันรอบเต้านมก่อนให้นม
หากแม่เจ็บมากจนทนให้ลูกดื่มไม่ไหว อาจงดชั่วคราวและระบายน้ำนมจนกว่าอาการจะดีขึ้น
Round ligament pain
.
ใช้ผ้าชุบน้ำร้อนประคบตรงบริเวณที่ปวดเพื่อบรรเทาอาการปวด
หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างรวดเร็วให้เปลี่ยนอิริยาบถอย่างช้าๆขณะลุกขึ้นจากเตียงให้นอนตะแคงก่อนแล้วจึงใช้ฝ่ามือยันที่เตียงแล้วค่อยลุกขึ้น
แนะนำให้อยู่ในท่าวางมือหัวเข่าและหน้าผากแนบที่พื้นแล้วยกก้นให้สูง ท่านี้จะช่วยให้ลดการดึงรั้งของเส้นเอ็นและลดความเจ็บปวดได้
ถ้ามีไข้หนาวสั่นปัสสาวะแสบขัดมีเลือดออกทางช่องคลอดร่วมกับอาการปวดท้องควรปรึกษาแพทย์
การใช้โยคะบรรเทาอาการ
ขยับอุ้งเชิงกราน ไปด้านหน้าสลับกับด้านหลังลดอาการปวดบริเวณหัวหน่าว จากการตึงตัวของเส้นเอ็นที่ยึดมดลูก
Increased vagina discharge
คำแนะนำและการพยาบาล
ทำความสะอาดอวัยวะเพศ => น้ำ+สบู่
ใส่กางเกงผ้าฝ้าย กลางคืนไม่ใส่กางเกงใน
หลีกเลี่ยงการสวนล้างช่องคลอด => ทำให้ Normal flora เสียสมดุล + ติดเชื้อเพิ่มขึ้น
ใส่ผ้าอนามัยเมื่อสังเกต สี กลิ่น และปริมาณของตกขาว
อาการที่ควรพบเเพทย์
เชื้อรา (candida) คล้ายโยเกิร์ต + คัน+ปวดขณะถ่ายปัสสาวะ
เชื้อพยาธิในช่องคลอด (Tricomoniasis)ตกขาวสีเหลือง/เขียว+กลิ่น+คัน
เชื้อเเบตทีเรีย (Bacterial vaginisis)ตกขาวที่ขาว/เหม็น+คัน+ปัสสาวะเเสบขัด
เกิดจาก
สารคัดหลั่งเพิ่มมากขึ้น
จากEstrogen H. เพิ่ม
Cervical gland เลือดมาเลี้ยงเพิ่ม
ตกขาว+คัน+เหม็น =>พบแพทย์
กรดไหลย้อน (Heartburn)
เลี่ยงอาหารที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟ น้ำอัดลม
เลี่ยงอาหารรสจัด เช่น น้ำมะนาว
เลี่ยงอาหารที่มีไขมัน เช่น ช็อคโกแลต ชาไทย
เลี่ยงการรับประทานอาหารเสร็จแล้วนอนทันที นอนหลังรับประทานอย่างน้อย 3ชม.
รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆแต่บ่อยครั้ง
เมื่อรู้สึกมีอาการให้ดื่มนมหรือน้ำอุ่นๆเพื่อเจือจางกรด
ให้นอนตะแคงซ้ายและนอนศรีษะสูง
รับประทานยาลดกรดตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงความเครียด