Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะ…
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล
ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามหลักการประมวลผล
1.1 คอมพวิเตอร์แบบอนาลอ็ก (Analog Computer)
1.2 คอมพวิเตอร์แบบดิจิทลั (Digital Computer)
1.3 คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer)
ประเภทของคอมพวิเตอร์ แบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งาน
2.1 เครื่องคอมพวิเตอร์เพื่องานเฉพาะกจิ (Special Purpose Computer)
2.2 เครื่องคอมพวิเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer)
ประเภทของคอมพวิเตอร์ แบ่งตามความสามารถของระบบ
มินิคอมพวิเตอร์ (Mini Computer) ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จ าเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรม ซ่ึงมีราคาแพง ผผู้ลิตคอมพิวเตอร์จึงพฒันาคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูก ลง เรียกว่า เครื่องมินิคอมพิวเตอร์
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอ้มูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์
มนเฟรมคอมพวิเตอร์ (Mainframe Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจ าและความเร็วน้อยลง สามารถ ใช้ข้อมูลและค าสั่งของเครื่องรุ่นอื่นในตระกูล
ไมโครคอมพวิเตอร์ (Micro Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของหน่วยความจ าและ ความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุด สามารถใช้งานได้ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กระบวนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนที่ 1 : การรับข้อมูลและคำสั่ง (Input)
คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและคำสั่งเข้าเครื่องผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เ
ขั้นตอนที่ 2 : การประมวลข้อมูล (Process)
หลังจากนำข้อมูลเข้ามาแล้วนั้น เครื่องก็จะนำข้อมูลหรือคำสั่งไปประมวลผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
ขั้นตอนที่ 3 : การแสดงผลลัพธ์ (Output)
เป็นการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลมาแสดงผลให้ทราบ ซึ่งโดยทั่วไปจะแสดงผลผ่านทางจอภาพ (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นต้น
องค์ประกอบของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
หน่วยรับข้อมูล ( Input Unit ) เป็นอุปกรณ์รับเขา้ทา หน้าที่รับโปรแกรม และข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รับเข้า
หน่วยความจำหลัก (Memory)
แรม (RAM) random access memory หรือ RAM เป็นอุปกรณ์หรือแผงวงจรที่ท าหน้าที่เก็บข้อมูล และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ บางครั้งเรียกว่าหน่วยความจ าชั่วคราว
รอม (ROM) read-only memory หรือ ROM เป็นหน่วยความจ าที่บันทึกข้อสนเทศและค าสั่งเริ่มต้น ของระบบ ข้อมูลและค าสั่งจะไม่ถูกลบหายไป
CMOS ย่อมาจาก complementary metal-oxide semiconductor เป็นหน่วยความจ าที่ใช้เก็บ ข้อสนเทศที่ใช้เป็นประจ าของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลำง ( CPU : Central Processing Unit)
หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหนา้ที่ควบคุมการทำงาน ควบคุมการ เขียนอ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจำองซีพียู ควบคุม กลไกการทำงานทั้งหมดของระบบ
หน่วยคำนวณ (Arithmetic and logic unit) เป็นหน่วยที่มีหน้าที่นา เอาขอ้มูลที่เป็นตวัเลขฐานสองมาประมวลผลทาง คณิตศาสตร์และตรรกะ เช่น การบวก การลบ การเปรียบเทียบ และ การสลบัตวัเลข
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์
1) หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก และเป็นเวลานาน นับเป็นจุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการท างานแบบอัตโนมัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละ เครื่องดว้ย
2) ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed) โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วน เกี่ยวข้องน้อยที่สุด เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ส าคัญส่วนหนึ่ง เช่นกัน
3) ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)หมายถึง ความสามารถในการ ประมวลผลข้อมูลตามลำดับขั้นตอน ได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ โดย มนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการก าหนดโปรแกรมคำสั่งและข้อมูลก่อน การประมวลผลเท่านั้น
4) ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้ เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการทำงานของเครื่อง
ประเภทของคอมพวิเตอร์
การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นั้น สามารถจำาแนกออกได้เป็น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้
1) ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามหลกัการประมวลผล
2) ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามวตัถุประสงคข์องการใชงาน
3) ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามความสามารถของระบบ
ประเภทของคอมพวิเตอร์
การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นั้น สามารถจำาแนกออกได้เป็น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้
1) ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามหลกัการประมวลผล
2) ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามวตัถุประสงคข์องการใชงาน
3) ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามความสามารถของระบบ