Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือดปอด (Amniotic fluid embolism) (สาเหตุ…
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือดปอด
(Amniotic fluid embolism)
ผลกระทบด้านมารดาเเละทารก
ผลกระทบต่อทารก
ขาดออกซิเจนและเสียชีวิตในกรณีที่มารดามีภาวะขาดออกซิเจน
ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจล้มเหลวแล้วไม่ได้รับการแก้ไขหรือทารกได้รับการช่วยเหลือไม่ทัน เป็นต้น
ผลกระทบด้านมารดา
7.มีการผิดปกติของการแข็งตัวของเลือดทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดีทำให้ตกเลือดได้
6.อัตราการแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนของปอดลดลงทำให้ขาดออกซิเจนเกิดภาวะเขียว
5.มีเลือดคั่งในปอดมีผลย้อนมาทำให้หัวใจซีกขวาไม่สามารถบีบตัวดันเลือดผ่านปอดได้เกิดภาวะบวมน้ำที่ปอด
4.ความดันในหลอดเลือดของปอดสูงขึ้น
3.เลือดไปเลี้ยงหัวใจซีกซ้ายลดลงเกิดภาวะช็อก
2.เกิด anaphylactiod reactionทำให้เกิดการหดรัดตัวของหลอดเลือดในปอดเลือดไหลจากปอดเข้าสู่หัวใจซีกซ้ายลดลง
1.เกิดการอุดตันของหลอดเลือดดำเล็กๆในปอดจากส่วนประกอบของน้ำคร่ำ
กรณีศึกษาที่ 3 หญิงตั้งครรภ์: อายุ 30 ปีสถานภาพสมรส อาชีพราชการ การศึกษา: ปริญญาตรีการวินิจฉัยแรกรับ: G1P0, GA 39 wks น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์: 60 kg. สูง 160 cms.ปัจจุบันหนัก 80 kg. อาการสำคัญ:มาด้วยเจ็บครรภ์คลอดรวมกับน้ำเดิน 2 ชม. ก่อนมารพ แรกรับตรวจหน้าท้อง HF 3/4 > สะดือ สูง 35 ซม.ท่า ROA FHS 140 ครั้ง / นาที ตรวจภาย Cervix dilate 5 cms. Eff 100% Station 0 ML I 7 นาที D 25 วินาทีสัญญาณชีพ BP = 110/90 mmHg, P = 70 ครั้ง / นาที R 20 ครั้ง / นาที T 37. 2C แพทย์ on 5% D N / 2 1000 cc. + Syntocinon 10 u vein drip 40 cc / hr. ปรับจน Good UC: 2 ชม. ต่อมาปวดอยากแบ่งตรวจภายใน Fully dilate SRM พบน้ำคร่ำสีเขียวจางๆขณะเบ่งคลอดผู้คลอดกระสับกระสาย บ่นแน่นหน้าอกหายใจลำบาก ตรวจร่างกายพบเขียวปลายมือเท้า สัญญาณชีพ : BP = 90/70 mmHg. P 90 bpm, R 18 bpm, T 36 C
สื่อวีดิโอ
VIDEO
หมายถึง ภาวะที่มีน้ำคร่ำพลัดเข้าไปในกระเเสเลือดทางมารดา ส่วนประกอบของน้ำคร่ำมีผลทำให้เกิดภาวะล้มเหลวของการทำงานระบบไหลเวียนเลือด หัวใจและระบบหายใจ
พยาธิสภาพ
2.เกิดจากการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันของมารดาต่อสารหรือส่วนประกอบ ( complements) บางอย่างที่ผิดปกติในน้ำคร่ำ
ร่างกายเกิดปฏิกิริยาหลั่งสารทำลาย (endogenous mediators) ได้เเก่ histamine, bradykinin, endothelin, cytokines, prostaglandis, leukotrienes, thromboxane
เลือดจากหัวใจล่างขวาไม่สามารถส่งเข้าปอดได้หรือส่งได้น้อย
เส้นเลือดปอดหดตัวเเละความดันนปอดสูงขึ้น
ความดันในหัวใจด้านขวาสูงขึ้น
เลือดไหลกลับหัวใจด้านซ้ายน้อยลง
เลือดไปเลี้ยงร่างกายน้อย เกิด Hypoxia
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเเละหลอดเลือดเเดงฝอยที่ปอดถูกทำลาย
1 more item...
1.เกิดจากส่วนประกอบของน้ำคร่ำไปอุดกลั้นหลอดเลือดดำเล็กๆในปอด
เมื่อนำเข้าไปในหลอดเลือดดำของมารดา
เลือดที่มีน้ำคร่ำอยู่จะไหลเวียนกลับไปยังหัวใจเพื่อไปฟอกที่ปอด
น้ำคร่ำดังกล่าวจะไปอุดตันในหลอดเลือดดำเล็กๆในปอด
ทำให้เลือดไหลเวียนกลับมายังหัวใจซีกซ้ายน้อยลง
หัวใจจึงสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้น้อย
ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตต่ำ BP 97 /70 mmHg
ทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดทำไม่ได้
ผู้คลอดจึงเกิดอาการกระสับกระส่าย แน่นหน้าอก หายใจลําบาก เขียวปลายมือปลายเท้า
อาการและอาการแสดง
เหงื่อออกมาก(Diaphoresis)
คลื่นไส้วิตกกังวลและพักได้น้อย
มีอาการหนาวสั่น(Chill)
หายใจลำบาก (dyspnea) เกิดการหายใจ
ล้มเหลว ทันทีทันใดและมีการเขียวตามใบหน้าและตามตัว (cyanosis)
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด(pulmonary
edema)
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ(cadiovascula
collapse)
ความดันเลือดต่ำลงมาก (hypotension)
ชัก
หมดสติและเสียชีวิตในเวลาต่อมา
ถ้าเกิดอาการนานกว่า 1 ชั่วโมง ผู้ป่วยยังมี
ชีวิตอยู่จะเกิดภาวะกลไกการแข็งตัวของเลือดสูญเสียไปและเกิดอาการตกเลือดอย่างรุนแรงตามมา
เขียวปลายมือปลายเท้า
การวินิจฉัยตาม National Amniotic Fluid Embolus Registry
1) มีความดันโลหิตต่ำอย่างเฉียบพลันหรือหัวใจหยุดเต้น (acute hypotension or cardiac arrest)
2) มีภาวะขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน (acute hypoxia) โดยมีอาการหอบเขียวหยุดหายใจอย่างรวดเร็ว
3) มีภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือดอย่างรุนแรง (consumptive coagulopathy)
4) เกิดอาการขณะเจ็บครรภ์คลอดทำคลอดขูดมดลูกหรือภายใน 30 นาทีหลังคลอดและ
5) ไม่สามารถตรวจพบว่ามีโรคหรือภาวะอื่นที่ทำให้มีอาการเหล่านี้ได้
สาเหตุ
2มีทางเปิดของน้ำคร่ำกับเส้นเลือดดำมารดา
3มดลูกมีการหดรัดตัวทำให้เกิดความแตกต่างของแรงดันภายในมดลูกพอที่จะดันให้นำเข้าผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดาได้สาเหตุ
1ถุงน้ำคร่ำแตกทำให้เกิดช่องทางการติดต่อในการที่น้ำคร่ำจะหลุดเข้าไปในกระแสเลือดได้
4.น้ำคร่ำมีขี้เทา
5.ภาวะรกเกาะต่ำ
6.รกลอกตัวก่อนกำหนดทำให้มีการฉีกขาดของหลอดเลือดเกิดช่องทางติดต่อในการที่นำคร่ำจะหลุดเข้ากระแสเลือดได้
7.คุณแม่ตั้งครรภ์ที่มีอายุมาก
8.การใช้เครื่องมือช่วยคลอด การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
9.มดลูกแตก หรือการบาดเจ็บในช่องคลอด
10ภาวะชักจากครรภ์เป็นพิษ
11การหดรัดตัวของมดลูกที่ถี่และรุนแรงหรือการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกทำให้ความดันในโพรงมดลูกมากขึ้นน้ำคร่ำจึงถูกดันเข้าไปในกระแสเลือดมารดาได้
12.ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานานเกิดการเปื่อยยุ่ย ทำให้หลอดเลือดเกิดการฉีกขาดด้วยน้ำคร่ำจึงหลุดเข้ากระแสเลือดได้
การประยุกต์ใช้วิจัยกับกรณีศึกษา
Link Title
เเนวทางการรักษา
1.ป้องกันและแก้ไขภาวะการขาดออกซิเจนด้วยการให้ออกซิเจน 100%
2.ป้องกันระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจล้มเหลวได้แก่ป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำและการไหลเวียนเลือดของหัวใจซีกซ้ายล้มเหลวโดยการช่วย ฟื้นคืนชีพ ใส่ท่อช่วยหายใจ ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ ยาขยายหลอด ลมยาเพิ่มความดันโลหิตช่วยเพิ่มปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจและให้เลือดเพื่อเพิ่มปริมาณของเลือดและแพทย์อาจผ่าตัด bypass หลอดเลือดหัวใจ
ป้องกันและแก้ไขภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติและภาวะตกเลือดด้วยการให้เลือดและองค์ประกอบของเลือดต่างๆกรณีมีภาวะตกเลือดหลังคลอดจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดีแพทย์อาจให้ยา prostaglandins หรือแพทย์อาจตัดมดลูกกรณีที่ยาไม่สามารถควบคุมภาวะเลือดที่ออกผิดปกติได้และรักษาภาวะ DIC ด้วยยา heparin
4.ช่วยคลอดให้เร็วที่สุดเพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะขาดออกซิเจนของทารกโดยส่วนใหญ่จะผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องทันทีในกรณีที่หัวใจมารดาหยุดเต้นและทารกมีอายุครรภ์มากพอที่จะเลี้ยงรอดได้
(รำไพ เกตุจิระโชติ,2559)