Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเจ็บครรภ์ (1.ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก (เมื่อครรภ์ครบกำหนดมดลูกจะยืด…
ทฤษฎีการเจ็บครรภ์
3.ทฤษฎีการขาดฮอร์โมน
โปรเจสเตอโรน
มีฤทธิ์ยั้บยั้งการหดตัวของมดลูกโดยขัดขวางการนำกระแสประสาทกล้ามเนื้อมดลูก
ระยะใกล้คลอดโปรเจสเตอโรนจะลดลงทำให้มดลูกหดรัดตัว
1.ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก
เมื่อครรภ์ครบกำหนดมดลูกจะยืดถึงขีดสุดไม่สามารถยืดขยายต่อได้อีก
จะเกิดการทำงานประสานกันของมดลูกส่วนบนและส่วนล่าง เรียก Depolarization
ทำให้กระตุ้นมดลูกหดรัดตัว
6.ทฤษฎีฮอร์โมนคอร์ติซอลของทารก
มีฤทธิ์ทำให้รกผลิตฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนช้าลงเเต่ไปกระตุ้นฮอร์โมนพรอสตาเกนดินทำให้มดลูกหดรัดตัว
เมื่อทารกในครรภ์โต Adrenocorticotropic-hormone
จะไปกระตุ้นต่อมหมวกไต
ให้สร้าง cortisol มากขึ้น
8.ทฤษฎีอายุของรก
ผลิตโปรเจสเตอโรนลดลง
หลังอายุครรภ์40สัปดาห์การไหลเวียนเลือดบริเวณรกลดลง
ทำให้รกเสื่อม
7.ทฤษฎีความดัน
ส่งสัญญาณไปที่ต่อมใต้สมองให้หลั่งออกซิโทซินทำให้มดลูกหดรัดตัว
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำของทารกจะกระตุ้นตัวรับรู้ความดันที่บริเวณมดลูกส่วนล่าง
5.ทฤษฎีการกระตุ้นฮอร์โมนพรอสตาเกนดิน
ระยะใกล้คลอดฮอร์โมนจะเพิ่มสูง
amnion จะหลั่งสารพรอสตาเกนดินทำให้
มดลูกหดรัดตัว
ต่อมหมวกไตกระตุ้นการหลั่งสารเยื่อหุ้มทารกชั้น
Chorion
4.ทฤษฎีการกระตุ้นฮอร์โมนเอสโตรเจน
เมื่อครรภ์ครบกำหนดเอสโตรเจนเพิ่มขึ้นทำให้โซเดียมภายในเซลล์สูงกว่าโพแทสเซียม
เกิดการส่งผ่านกระแสไฟฟ้าในกล้ามเนื้อมดลูกทำให้มดลูกหดรัดตัวส่งผลให้โซเดียมภายในเซลล์สูงกว่าโพเเทสเซียม
9
.ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง
อัตราส่วนระหว่างเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน
ระยะต้นๆของการตั้งครรภ์มีโปรเจสเตอโรนมาก
ระยะท้ายของการตั้งครรภ์เอสโตรเจนเพิ่มสูงขึ้นกระตุ้นตัวรับเเอลฟาทำให้มดลูกหดรัดตัว
กระตุ้นตัวรับเบต้าทำให้มดลูกคลายตัว
2.ทฤษฎีการกระตุ้นฮอร์โมนออกซิโทซิน
โดยเฉพาะช่วงสุดท้ายของการตั้งครรภ์ระยะที่ 2 ของการคลอดทำให้มดลูกหดรัดตัว
อายุครรภ์มากมดลูกจะไวต่อการกระตุ้นออกซิโทซิน
สมาชิก
นางสาวศิริพร ศรีบุญมา เลขที่ 23
นางสาวศิริลักษณ์ สุมาลย์ เลขที่ 26
นางสาวสิรินยา คณาพันธ์ เลขที่ 37
นางสาวสุกัญญา บุตรวงษ์ เลขที่ 42
นางสาวสุพรรษา จันทร์แสง เลขที่ 58
นางสาวสุพิชชา มาณพ เลขที่ 59
นางสาวสุรีรัตน์ จัตุรัส เลขที่ 62
นางสาวอารญาณี สิทธิกรรณ์ เลขที่ 74
นักศึกษาพยาบาลศาสบัณฑิตชั้นปีที่ 3C
อ้างอิง
ศศิธร พุมดวง. 2556. สูติศาสตร์ระยะคลอด. พิมพ์ครั้งที่ 2. บริษัท อัลลายด์เพรส จำกัด.
ศศิธร เตชะมวลไววิทย์. 2558. ความปวดและการจัดการความปวดของมารดาในระยะที่หนึ่งของการคลอด