Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงของมารดาและทารกในระยะที่ 2 ของการคลอด ทางด้านจิตใจ…
การเปลี่ยนแปลงของมารดาและทารกในระยะที่ 2
ของการคลอด ทางด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ
ด้านจิตใจ
ความรู้สึกเกี่ยวกับการคลอด
มารดา
ปวด (pain)
เครียดสูง
วิตกกังวล (Anxiety)
เครียดสูง
เครียด (stress)
เครียดสูง
กลัว (fear)
เครียดสูง
เครียดสูง
ร่างกายใช้น้ำตาลสูง
มดลูกหดรัดตัวลดลง
cathecolamineสูง
มดลูกหดรัดตัวลดลง
สารจากจากต่อมหมวกไตคสูง
มดลูกหดรัดตัวลดลง
ความก้าวหน้าของการคลอดลดลง
ระยะของการคลอด
มีการเปลี่ยนแปลงการรับรู้เวลา
ปลายระยะที่ 1 และ 2
มีการคลอดนานมาก
ความสามารถในการคิดไม่ชัดเจน
การวิจัยการต้องการในระยะคลอดของมารดาที่สุขภาพดี
การได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
การได้รับการลดปวด
การประเมินการเต้นของหัวใจทารกอย่างใกล้ชิด
ห้องคลอดที่คล้ายกับบ้าน
การได้รับการดูแลจากแพทย์
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและการควบคุมสถานะการณฺ์
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
มารดาระยะคลอด
ลางาน
มารดา
คลอดบุตร
บิดา
ดูแลภรรยาและบุตร
สูญเสียรายได้
เพราะต้องลางานจึงทำให้สูญเสียรายได้
รายจ่ายเพิ่มสูงขึ้น
เพราะครอบครัวจะมีสมาชิกใหม่มาเพิ่ม จึงต้องจัดเตรียมข้าวของ เช่น ขวดนม ขวดน้ำ ผ้าอ้อม เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ในครอบครัว
สมาชิกในครอบครัวมีความรู้สึกเป็นเจ้าของทารก
เลี้ยงดูทารกและให้การช่วยเหลือมารดา
ครอบครัวอยู่ในภาวะวิกฤติ
สามีที่ไม่ได้รับการเตรียมตัวจะมีความเครียดสูง
ส่งผลกระทบต่อทารก และมารดา
อาการระยะที่ 2 มารดาและทารก
มารดาอาจรู้สึกถูกละเลยเนื่องจากคนรอบข้างสนใจทารก
มารดาต้องการกำลังใจการแนะนำและการสนับสนุนเกี่ยวกับการคลอด
มารดามีความกังวลเกี่ยวกับการคลอด
กลัวว่าจะคลอดไม่ได้
กลัวว่าบุตรจะพิการหรือเสียชีวิต
มารดาเกิดความเครียดภายในจิตใจโดยไม่รู้ตัว
[มารดามีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่ายและไม่มั่นคง]
-อารมณ์ก้าวร้าว
-ใช้คำหยาบ
-หงุดหงิดง่าย
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตวิยญาน
มารดาที่ควบคุมตนเองและสิ่งแวดล้อมได้ดีในระยะคลอด
ทำให้มีประสบการณ์การคลอดในทางบวก ( Hardin & Buckner 2004 )
การที่มารดามีความสัมพันธ์ที่ดีกับพยาบาล หรือครอบครัว และ มีจิตใจที่ดี ไม่เครียด
ทำให้ช่วยเพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของมารดา ( Parrat ,2002 )
การคลอดเป็นประสบการณ์การด้านจิตวิญญาณ ( Callister, Semenic & Foster, 1999; Hall, 2008)-
มารดาที่การคลอดเป็นไปตามความคาดหวัง
ลูกมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงดี และได้เพศตามที่หวัง
ทำให้มารดารู้สึกมีคุณค่าในตนเอง รู้สึกว่าตนเองมีพลังในการเลี้ยงดูลูกให้ดีที่สุด
มารดาที่การคลอดไม่เป็นไปตามคาดหวัง เช่นลูกมีความพิการ อยากได้ลูกผู้หญิงแต่ได้ลูกผู้ชาย
ทำให้มารดาควบคุมตัวเองไม่ได้ มีความรู้สึกละอายและผิดหวัง ----> ทำให้ความรู้สึกของมารดามีคุณค่าลดลง ไม่มีพลังในการเลี้ยงดูลูก ( Littleton & Engenretson, 2002 )