Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
LUNG CANCER มะเร็งปอด 3E17898A-190C-48A1-BA8F…
LUNG CANCER มะเร็งปอด
หน้าที่ของปอด
ปอด(lung) เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ในการหายใจ ปอดตั้งอยู่ภายในทรวงอกมีปริมาตรประมาณ 2 ใน3ของทรวงอก ปอดขวาจะสั้นกว่าปอดซ้าย เนื่องจากตับซึ่งอยู่ทางด้านล่างดันขึ้นมา ส่วนปอดซ้ายจะแคบกว่าปอดขวาเพราะว่ามีหัวใจแทรกอยู่ ปอดมีเยื่อหุ้มปอด (pleura) 2 ชั้น ชั้นนอกติดกับผนังช่องอก ส่วนชั้นในติดกับผนังของปอด ระหว่างเยื่อทั้งสองชั้นมีของเหลวเคลือบอยู่ การหุบและการขยายของปอดจะเป็นตัวกำหนดปริมาณของอากาศที่เข้าสู่ร่างกาย [ซึ่งจะทำให้ร่างกายได้รับออกซิเจนถ่ายเทคาร์บอนไดออกไซด์ออกตามที่ร่างกายต้องการ
(https://anatomyfivelife.wordpress.com/บทที่-8-ระบบหายใจ/))
Alveolar macrophages
เป็นเซลล์ในถุงลมปอด จับกินสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในตัวเซลล์ และปลอ่ยenzymeมาทําลายสิ่งแปลกปลอมแปลกปลอมนั้น
-
-
-
พยาธิสภาพ
ปัจจัยเสี่ยงของโรค
1.การสูบบุหรี่ ผู้ที่สูบบุหรี่จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งปอดมากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ถึง 10 – 30 เท่า
- อายุที่สูงขึ้น ผู้ที่อายุมากกว่า 40 ปี จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งปอดสูงขึ้นกว่าค่าเฉลี่ยทั่วไป แต่ก็สามารถพบมะเร็งปอดในคนที่อายุน้อยกว่า 40 ปีได้
- การสัมผัสสารก่อมะเร็งจากสิ่งแวดล้อม เช่น แร่ใยหิน(แอสเบสตอส) ควันบุหรี่มือสอง ก๊าซเรดอน สารหนู และสารเคมีอื่นๆ เช่นฝุ่นและไอระเหยจาก นิกเกิล โครเมียมและโลหะอื่นๆ หรือการสัมผัสสารยูเรเนียม
- การรักษาด้วยการฉายแสงที่ทรวงอก เช่น ในผู้ป่วยที่เป็นโรค Hodgkin lymphoma หรือผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเต้านมเพื่อรักษาโรคมะเร็งเต้านม
- บุคคลที่มีสมาชิกในครอบครัวอันได้แก่ พ่อ แม่ พี่น้องเป็นโรคมะเร็งปอด
ประเภทของมะเร็งปอด
มะเร็งปอดชนิดไม่ใช่เซลล์เล็ก (NSCLC: Non-Small Cell Lung Cancer)
มะเร็งปอดประเภทนี้เป็นมะเร็งปอดชนิดที่พบบ่อยที่สุด ซึ่งคิดเป็นประมาณ 85%ของผู้ป่วย เซลล์มะเร็งชนิดนี้จะแพร่กระจายได้ช้ากว่า เซลล์มะเร็งปอดประเภทที่ 2
มะเร็งปอดของเซลล์ต่อมสร้างเมือกในเยื่อบุหลอดลม ที่พบประมาณ 40% มะเร็งปอดชนิดนี้ได้รับการวินิจฉัยมากที่สุดในผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบัน แต่ก็สามารถพบได้ในผู้ไม่สูบบุหรี่เช่นกัน
-
มะเร็งปอดชนิดเซลล์ใหญ่ มักปรากฏในลักษณะของเซลล์ที่ไม่มีวิวัฒนาการ (undifferentiated) และสามารถเกิดขึ้นในส่วนใดส่วนหนึ่งของปอดก็ได้โดยไม่แสดงลักษณะตำแหน่งที่จำเพาะ
มะเร็งปอดชนิดเซลล์เล็ก (SCLC: Small Cell Lung Cancer)
มะเร็งปอดชนิดเซลล์เล็กมักจะเกิดขึ้นในส่วนกลางของหลอดลมและแพร่กระจายได้เร็วกว่ามะเร็งปอดที่ไม่ใช่เซลล์เล็ก ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว พบได้ประมาณ 15% ของมะเร็งปอดทั้งหมด
อาการ
มีได้หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ หายใจถี่และหายใจไม่ออก การมีเสียงแหบ อาการเจ็บหน้าอก ไอมีเสมหะเป็นเลือด ไอเรื้อรัง น้ำหนักลดหาสาเหตุไม่ได้ หรือมีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนแรง
เคสนี้คนไข้มีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย ทานข้าวไม่ได้ ซึม มีอาเจียน มีความไม่สมดุลของสารน้ำในร่างกายเนื่องจากทานข้าวไม่ได้
การตรวจวินิจฉัย
-
เอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ปอด (CT scan) ซึ่งใช้ลำแสง X-ray เพื่อถ่ายภาพภายในร่างกาย และสร้างภาพตัดขวาง การตรวจวิธีนี้ สามารถตรวจพบเนื้องอกขนาดเล็ก รวมทั้งให้ข้อมูลเกี่ยวกับเนื้องอกและต่อมน้ำเหลือง
ผู้ป่วยได้รับการทำ CT Scan with contrast เพราะว่าผู้ป่วยมีอาการชักเกร็ง ผลCT Scan ออกมาว่าโรคมะเร็งมีการแพร่เชื้อไปที่ leptomeningeal การแพร่กระจายไปที่เยื่อหุ้มสมองส่วนบาง
-
การตรวจด้วยเครื่องPET scan (Positron Emission Tomography scan) ใช้ในการวินิจฉัยระยะของมะเร็งปอดได้ดีที่สุด
การตรวจชิ้นเนื้อในปอด เป็นสิ่งที่จำเป็นมากที่สุด ทั้งเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรคมะเร็งปอด และบอกชนิดของเซลล์มะเร็ง
-
-
case study
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ70 ปี มีผมสั้นสีขาว ผู้ป่วยรู้สึกตัว ลืมตาได้ แต่ไม่ค่อยตอบสนอง อ่อนเพลีย หายใจเหนื่อยหอบ ที่จมูกมีสายให้อาหารทางจมูก ที่คอมี tracheostomy tube ต่อกับเครื่องช่วยหายใจ PS mode ตามลำตัวแขนขามี molting และมีแผลกดทับ stage 4 ที่coccyx มีริดสีดวงทวาร ผู้ป่วยใส่แพมเพิร์ส ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ นอนติดเตียง
-
-
-
-
-
-
-