Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
DX:Preterm 28 Week,VCBC,RDS,AOP,BPD(PCA33+Week,DOL 38 Day)…
DX:Preterm 28 Week,VCBC,RDS,AOP,BPD(PCA33+Week,DOL 38 Day)
-
-
Apnea
สาเหตุ
อาการชักชักกระตุก
การบาดเจ็บทางสมองหรือระดับออกซิเจนไม่เพียงพอ
อาการหยุดหายใจของทารกที่คลอดก่อนกำหนด
หยุดหายใจเป็นเวลานานมากกว่า 15 ถึง 20 วินาที
ทำให้สีผิวทารกเป็นสีน้ำเงินสีม่วงหรือซีด
ในขณะเดียวกันจังหวะการเต้นของหัวใจก็ช้าลง
ทารกที่คลอดก่อนกำหนด
Apnearที่ไม่มีโรคหรือภาวะอื่นร่วมด้วยเกิดจากการ เกิดก่อนกำหนด
ทำให้ระบบควบคุมการหายใจไม่สมบูรณ์
มักเกิดในทารกอายุครรภ์เท่ากับหรือน้อยกว่า 34 สัปดาห์จะปรากฏภายใน 2 วันหลังคลอด
พบน้อยมากที่จะเกิดในวินาทีแรกมักจะหายไปเมื่อทารกมีอายุหลังปฏิสนธิ 37 สัปดาห์
-
อาการหยุดหายใจเกิดขึ้น เพราะสูญหายใจในสมองทารกยังไม่พัฒนาพอบางครั้งก็ลืมส่งสัญญาณให้หายใจเป็นการประจำ
-
-
-
1.มีโอกาสเกิดภาวะเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากการเเลกเปลียนก๊าซและการระบายอากาศลดลงเนื่องจากปอดยังไม่เจริญสมบูรณ์
เกณฑ์การประเมิน
1.ทารกมีอัตราการหายใจปกติไม่มีอาการเหนื่อยหอบไม่มีCyanosis ค่าความเข้มข้นของออกซิเจนมากกว่า88เปอร์เซนต์
2.ค่าออกซิเจนในเลือดแดงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้ออกซิเจนหรือเครื่องช่วยหายใจตามเเผนการรักษา
2.จัดท่านอนให้ทางเดินหายใจตรงโดยใช้ผ้าหนุนไหล่ให้คอเเหงนเล็กน้อย
3.ประเมินอาการเเละอาการเเสดงของภาวะเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเช่นเขียวบริเวณริมฝีปากและเล็บมือเท้าหายใจเร็วหอบมีเสียงgruntingหน้าอกบุ๋มปีกจมูกบาน
4.ดูดเสมหะในปากและจมูกให้ทางเดินหายใจโล่งและประเมินเสียงปอดก่อนเเละหลังดูดเสมหะทุกครั้ง
5.ประเมินเเละบันทึกสัญญาณชีพทุก1ชั่วโมง
6.ติดตามระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนถ้าน้อยกว่า88เปอร์เซนต์ให้รายงานเเพทย์
7.ติดตามผลX-ray และค่าออกซิเจนในเลือดแดงเป็นระยะๆ
8.รบกวนทารกให้น้อยที่สุดโดยให้การพยาบาลต่างไในเวลาเดียวกันเพื่อลดการใช้พลังงานและออกซิเจน
2.ทารกมีภาวะการเเลกเปลี่ยนอากาศในปอดลดลงเนื่องจากเลือดไหลเวียนไปปอดไม่เพียงพอจากภาวะความดันในหลอดเลือดปอดสูง
กิจกรรมพยาบาล
1.ดูแลให้ทารกอยู่ในอุณหภูมิกายที่เหมาะสมเพื่อลดการใช้งานออกซิเจน
2.รบกวนทารกเท่าที่จำเป็นในการทำหัตการ
3.วัดสัญญาณชีพทุก1ชั่วโมง
4.ดูแลทารกให้ด้ายรับออกซิเจนตามเเผนการรักษา
5.ดูแลทารกให้ได้รับยาขยายหลอดเลือดตามเเผนการรักษา
6.ดูเเลทารกให้ได้รับยาทำให้ทารกผ่อนคลายหลับ ระงับปวด และกล้ามเรื่อคลายตัวตามเเผนก่รรักษา
เหตุผลการพยาบาล
1.เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
2.เนื่องจากการรบกวนจะทำให้ออกซิเจนเพิ่มขึ้ร่วมทั้งทำให้ความดันในทรวงอกเปลี่ยนเเปลง
3.ดูความผิดปกติของสัญญาณชีพโดยเฉพาะค่าความดันโลหิต
4.เพื่อป้องกันภาวะพร่องออกซิเจน
5.เพื่อป้องกันการสลายตัวรวดเร็วของยาจากเเสง
6.เพื่อลดอาการหายใจๆม่สัมพันธ์กับเครื่องช่วยหายใจจากความเครียด
-
วัตถุประสงค์
1.ส่งเสริมให้บิดามารดามีส่วนร่วมในการดูแลทารก
เกณฑ์การประเมิน
1.ทารกมีการตอบสนองต่อบิดามารดา
2.บิดามารดาสัมผัสและพูดคุยกับทารด้วยสีหน้ายิ้มเเย้ม
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้การพยาบาบด้วยความรักสั มันก็พิมพ์คำว่า มผัสทารกอย่างนุ่มนวลเบามือและพูดคุยกับทารกขณะให้การพยาบาล
2.จัดให้มีชั่วโมงสงบลดการใช้ เสียงและลดแสง เพื่อให้ทารกได้พักผ่อนอย่างเต็มที่
- รบกวนทารกเท่าที่จำเป็น โดยให้การพยาบาลหลายๆอย่างในเวลาเดียวกัน
- เปิดโอกาสและกระตุ้นให้บิดามารดามาเยี่ยมทารกอย่างสม่ำเสมอ และส่งเสริมให้บิดามารดาสัมผัสทารกพูดคุยสบตาและมีส่วนร่วมในการดูแลทาร
เหตุผลการพยาบาล
- เพื่อลดอาการขนาดทารกเจ็บป่วย
- เพื่อให้ทารกได้พักผ่อนอย่างเต็มที่
- เพื่อรบกวนทารกเท่าที่จำเป็น
- เพื่อให้ทารกได้สัมผัสกับบิดาและมารดามีส่วนร่วมในการดูแลทารก
การประเมินผล
- ทารกมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อมารดา เช่น เมื่อแม่อุ้มทารกทารกจะหยุดร้องไห้
- บิดามารดาสัมผัสทารกและพูดคุยขณะกำลังให้ทารกดื่มนม
สาเหตุ
เกิดจากเนื้อเยื่อปอดถูกทำลายจากการได้รับออกซิเจนและการใช้เครื่องช่วยหายใจเป็นเวลานาน ทำให้ Ciliaทางเดินหายใจถูกทำลายเกิดภาวะnecrosis of respiratory epithealcell และ Cepillry ทำให้เกิด pulmonary intestail fibroisให้ปลอดขยายได้น้อยลงความยืดหยุ่นของปอดลดลงทารกจะมีการหายใจลำบากหายใจเร็วกว่าปกติและเขียวขณะร้องไห้มักพบในทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,500กรัม
อาการ
ภายหลังที่สาเหตุของภาวะหัวใจล้มเหลวรเริ่มดีขึ้นสามารถนำทารกออกจากเครื่องช่วยหายใจทารกยังต้องการออกซิเจนนานเกิน 30 วันมักมีอาการหายใจเร็วและลำบากหน้าอกบุ๋มพบเสียงวี๊ด หรือเสียงvoles รายที่มีอาการรุนแรงอาจพบอาการเขียวเป็นระยะจากหลอดลมหด เกร็งตัวบางรายอาจมีอาการท้องอืดอาเจียนหลังให้นมหรือมีการขย้อนนม
พยาธิสรีวิทยา
โรคปอดเรื้อรังสามารถแบ่งเป็น4ระยะ
ระยะที่1พบในระยะ2-3 วันแรกหลังเกิดจะมีการสร้างhyalinc membraneขึ้นมารอบรอบถุงลมระยะมีอาการคล้ายกับRDS
ระยะที่2พบในระยะ4- 10 วันหลังเกิดจะพบว่ามีการตายของเซลล์เบื่ถุงลมร่วมกับการซ่อมแซมเซลล์ที่ตาย เซลล์กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมฝอยมีการเปลี่ยนแปลง เป็นเซลล์ที่ผิดปกติ ทำให้การระบายของปอดลดลงเซลล์ ของถุงลมหนาต่างกันมาก
ระยะที่3 พบในระยะ 10-20วันหลังเกิดภาวะ metalasiaของ bronchioles อย่างต่อเนื่องมีพังผืดบริเวณระหว่างพบตุ่มพองลมไปทำในเนื้อเยื่อปอด
ระยะที่4 พบในระยะ 1เดือนหลังเกิดระยะนี้จะเกิดภาวะfibrosis
การรักษา
ทารกที่เป็นBPDจะทำให้การรักษาแบบประคับประคองโดยพยายามลดการใช้ออกซิเจนและความดัน + จากเครื่องช่วยหายใจลงให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ อาจใช้ยาขยายหลอดลมร่วมกับการทำกระยะภาพบำบัดเพื่อช่วย ให้มีการระบายอากาศและระบายเสมหะใช้ยาขับปัสสาวะ เพื่อขับน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์ออกและลดalveolar edema ในปอดทำให้ปอดมีการแลกเปลี่ยนดีขึ้นนอกจากนี้ยังมีการใช้สเตียรอยด์ในการรักษาทารกที่เป็น BPDโดยสเตียรอยด์ทำให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้นส่งผลให้การแลกเปลี่ยนก๊าซขึ้นสามารถลดออกซิเจน และความดันเครื่องช่วยหายใจและทำให้ถอดเครื่องช่วยหายใจได้เร็วขึ้น
ประวัติ
ชื่อ ด.ช.ฐปนัท คงพุฒ อายุ 1เดือน 10วัน เพศชาย บุตรนางอัญชลี โพธิ์ธรรม คลอดวันที่ 15 มิ.ย 62 เวลา 01.08 น. ตึก NICU เตียง 1NC2112 น้ำหนักแรกคลอด 1,270 g C/S
Apgar score 6-9-9 vitalsigns BT 36.5c RR 70bpm
PR 148bpm BP 70/45 mmhg
การตรวจร่างกาย
Preterm 28 Week,VCBC,RDSขณะที่ off ETT ได้แล้ว
on cannula 0.5 PLM Keep O2sat 95-97%
รอเลี้ยงโตจึง Off cannula ได้
นัดทำ ROP 7สิงหาคม 2562
vital signsล่าสุด BT 37.1c RR 54 bpm RP 145 bpm
O2sat 96% น้ำหนักปัจจุบัน 2,030 g