Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ (การพยาบาลระยะคลอด…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์
Hypothyroidism
การวินิจฉัย
อาการเเละอาการเเสดง
ออกกำลังกายได้ลดลง
ทนความเย็นไม่ได้
น้ำหนักเพิ่ม
เกิดตะคริว
ท้องผูก
เสียงเเหบ
เล็บเปราะเเละหักง่าย
การตรวจร่างกาย
ต่อมไทรอยด์ใหญ่ขึ้น
ชีพจรช้า
อุณหภูมิร่างกายต่ำ
การซักประวัติ
ประวัติการใช้ยา litium
เคยได้รับการฉายรังสีบริเวณศีรษะเเละลำคอ
ประวัติโรคต่อมธัยรอยด์ในครอบครัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
TSH สูง
FT4 ต่ำ
สาเหตุ
Hashimoti's Thyroidtis เกิดจากภูมิต้านทานตนเอง
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยที่เกิดภายหลังการทำงาน
Suppurative and subacute thyroiditis เกิดจากการติดเชื้อเเบคทรีเรีย
การได้รับการรักษาด้วยยา
Lymphocytic Hypophysitis
การขาดสารไอโอดีน
ภาวะเเทรกซ้อน
รูปพิการเเต่กำเนิด
การตายตลอด
การทำงานของหัวใจทารกผิดปกติ
ทารกเเรกคลอดน้ำหนักน้อย
การเสียเลือดหลังคลอด
ภาวะเลือดจาง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การคลอดก่อนกำหนด
ความดันโลหิตสูงเเทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
Hyperthyroidism
สาเหตุ
3.เนื้องอกที่ต่อมไทรอยด์ เป็นกรณีที่พบได้น้อย เนื้องอกที่เกิดบริเวณไทรอยด์ และเนื้องอกที่เกิดบริเวณต่อมใต้สมอง
4.การอักเสบของต่อมไทรอยด์ (Thyroiditis) การอักเสบที่ไม่ทราบสาเหตุของต่อมไทรอยด์สามารถส่งผลต่อการทำงานของของต่อมไทรอยด์ได้
2.การรับประทานอาหาร การรับประทานอาหารที่มีไอโอดีนมากเกินไปสามารถก่อให้เกิดโรคไทรอยด์เป็นพิษ
1.โรคเกรฟวส์ (Graves' Disease) จะทำให้ร่างกายหลั่งฮอร์โมนไทโรซีนออกมามากผิดปกติจนกลายเป็นพิษ
5.การได้รับการเสริมฮอร์โมนไทรอยด์ที่มากเกินไป ยาที่มีส่วนประกอบของไอโอดีนบางชนิด เช่น ยาอะไมโอดาโรน (Amiodarone) ที่ใช้ในการรักษาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ จะทำให้เกิดการหลั่งของฮอร์โมนไทรอยด์มากขึ้นจนกลายเป็นพิษ
การวินิจฉัย
การเอกซเรย์
การตรวจอัลตราซาวด์
การตรวจต่อมไทรอยด์ (Thyroid Scan)
การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
การตรวจเลือด
ตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนไทรอยด์ ปริมาณของฮอร์โมนไทรอยด์ T3 และ T4
ตรวจวัดการทำงานของต่อมใต้สมอง (Thyroid-Stimulating Hormone: TSH)
การตรวจวัดระดับปริมาณแอนติบอดีของต่อมไทรอยด์ (Thyroidglobulin
กลไกการเกิด
กลไกการเกิดมีการเพิ่มระดับไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดอย่างรวดเร็ว เช่นหลังผ่าตัดต่อมไทรอยด์ หรือได้รับไอโอดีนกัมมันตรังสีซึ่งทำให้มีการปล่อยฮอร์โมนออกมามากขึ้นได้.
การพยาบาลหลังคลอด
1.นอนพักบนเตียงในทา semi-fowler's position เพื่อลดการทํางานของหัวใจและปอดขยายไดดีขึ้น
2.ดูแลใหมารดารับประทานอาหารที่มีคุณคาอยางครบ ถวน และใหไดไอโอดีนอยางเพียงพอวันละ 200 ไมโครกรัมในมารดาที่ใหนมบุตร
3.ทารกแรกเกิดจากมารดาที่ไดรับยา PTU เพื่อการรักษานั้นอาจมีการแสดงของตอมธัยรอยดถูก กด จะมีอาการงวงซึม เคลื่อนไหวชา ไมคอยรอ
การพยาบาลระยะคลอด
1.วัดสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง หากพบวาชีพจรมากกกวา 100/min อัตราการหายใจมากกวา 24/min pulse pressure กวางกวา 40 mmHg อาจไดรับอันตรายจากภาวะหัวใจลมเหลว ใหรีบรายงานแพทย
2.วัดสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง หากพบวาชีพจรมากกกวา 100/min
อัตราการหายใจมากกวา 24/min pulse pressure กวางกวา 40 mmHg
อาจไดรับอันตรายจากภาวะหัวใจลมเหลว ใหรีบรายงานแพทย
3.ในระยะที่ 1 ของการคลอด จัดให้ผู้คลอดนอนในทาศีรษะสูง (fowler's position)
ตะแคงด้านใดด้านหนึ่งเพื่อป้องกันภาวะความดันโลหิตตําจากการนอนหงายและปอดยายได้ดีขึ้น
4.ดูแลใหผูคลอดไดรับความสุขสบาย เช็ดตัวใหสะอาด เพื่อให้สามารถพักผอนไดดีขึ้น ลดการใชออซิเจน
5.ให้ผู้คลอดออกแรงเบ่งให้น้อยที่สุดเพราะการเบงจะทําใหหัวใจทํางานมากขึ้น แพทยมักเลือกใชสูติศาสตรหัตถการชวยคลอด