Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) (การปกครอง…
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ ๔)
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฎ
เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็พระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่๒ กับกรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๓๔๗
ด้านการศึกษา
ได้ตั้งโรงเรียนชายขึ้นที่ตำบลสำเหร่ ซึ่งปัจจุบัน คือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
โรงเรียนสตรีแห่งแรกในประเทศไทย คือ โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง (โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย)
การปกครอง
เปิดโอกาสให้ราษฎร เข้าเฝ้าได้โดยสะดวกให้ราษฎรเข้าเฝ้าถวายฎีการ้องทุกข์ได้ ในขณะที่ทรงเสร็จพระราชดำเนิน
จัดตั้งตำรวจนครบาลขึ้นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองหรือชาวบ้านเรียกว่า หัวแดงแข้งดำ
จัดตั้งศาลยุติธรรม และโปรดเกล้าฯให้แก้ไขกฎหมายให้ทันสมัยและเป็นสากลมากขึ้น
ทรงประกาศพระราชบัญญัติและกฎหมายต่างๆมากถึง๕๐๐ฉบับ
ด้านดาราศาสตร์และโหรศาสตร์
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นนักดาราศาสตร์ไทยทรงคำนวณการเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงได้อย่างแม่นยำในวันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๑๑ ล่วงหน้า ๒ ปี
ทรงเป็นนักโหรศาสตร์ ทรงแต่งตำราทางโหรศาสตร์ที่เรียกว่า"เศษพระจอมเกล้า"ซึ่งเป็นอีกหนึ่งตำราที่ได้รับการยอมรับว่าแม่นยำทรงได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติว่าทรงเป็น"บิดาแห่งโหรศาสตร์ไทย"
บิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
ด้านพระพุทธศาสนา
ทรงฟื้นฟูพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรือง โดยทรงตั้งธรรมยุติกนิกายขึ้นเป็นนิกายที่มีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัยและระเบียบแบบแผย
ประกศใช้พระราชบัญญติ ลักษณะการปกครองสงฆ์เป็นฉบับแรก โดยมีสมเด็จพระสังฆราชเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาสูงสุด มีมหาเถรสมาคมให้คำปรึกษา โปรดให้สร้างวัดขึ้นหลายแห่ เช่น วัดโสมนัสวิหาร วัดราชประดิษฐ์ วัดปทุมวนาราม
บทพระราชนิพนธ์ที่สำคัญ
ชุมนุมพระบรมราโชบาย ๔ หมวด คือ หมวดวรรณคดี โบราณคดี ธรรมคดี และตำรา
ตำราเรื่อง พระแก้วมรกต เรื่องปฐมวงศ์
ทรงริเริ่มให้มีการค้นคว้าศิลาจารึกในประเทศไทยขึ้นเป็นครั้งแรก คือศิลาจารึกหลังที่ ๑ ของพ่อขุนรามคำแหงและศิลาจารึกหลักที่ ๔ ของพระยาลิไท
ด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
เปิดความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตกอย่างกว้างขวาง มีการทำสัญญษกับต่างประเทศ ๑๗ ประเทศ ทรงยึดนโยบาย"ผ่อนสั้น ผ่อนยาว"มาใช้กับประเทศมหาอำนาจทำให้ไทยดำรงเอกราชอยู่ได้จนทุกวันนี้
พระองค์โปรดเกล้าให้ชาวต่างประเทศรับราชการเป็นกงสุลไทย เช่น เซอร์ จอร์น เบาริง อัครราชทูตของสมเด็จพระราชชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณษจักร
เปลี่ยนชื่อประเทศ
ในปีพ.ศ.๒๓๙๘พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริว่าควรเปลี่ยนชื่อประเทศจากกรุงศรีอยุธยาเป็นสยามเนื่องจากกรุงศรีเป็นชื่อของราชธานีเก่า