Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติความรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสินค้าที่ไม่ปลอดภัย,…
พระราชบัญญัติความรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
WHAT
กำหนดให้ผู้ประกอบการทุกคนต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้เสียหายในความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย และสินค้านั้นได้มีการขายให้แก่ผู้บริโภคแล้ว
สินค้าที่ไม่ปลอดภัย
สินค้าที่ไม่ปลอดภัยอันเนื่องมาจากการผลิต
สินค้าที่ไม่ปลอดภัยอันเนื่องมาจากไม่ได้กำหนดวิธีใช้ วิธีเก็บรักษา
สินค้าที่ไม่ปลอดภัยอันเนื่องมาจากการออกแบบ
WHY
เพื่อให้ผู้เสียหายสามารถฟ้องผู้ผลิตสินค้าที่ไม่ปลอดภัยนั้นได้โดยตรง และสร้างระบบการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานเทคโนโลยีของผู้ผลิต
WHO
ผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหาย
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สมาคม และมูลนิธิซึ่งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
WHERE
สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
กรณีศึกษา
ข่าวข้อกฏหมายคดีตัวอย่างสินค้าไม่ปลอดภัยจากขวดน้ำอัดลมระเบิด
สาเหตุเกิดจาก นศ. เปิดขวดน้ำอัดลมเเล้วได้รับบาดเจ็บ
ผลที่ได้รับ ผู้เสียหายได้มีการฟ้องร้องว่าสินค้าไม่ปลอดภัย
ผลลัพธ์ โดยศาลได้มีการพิพากษ์ศาคดีตามกฏหมายเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าไม่ปลอดภัยตาม พรบ คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา3 วรรค1 โดยใช้หลักความรับผิดชอบอย่างเคร่งครัด ถึงเเม้ว่า ผู้ประกอบการ จะไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น หรือเกิดเพราะความเลินเล่อ ก็ต้องมีการรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
สิ่งที่ผู้เสียได้รับการคุ้มครอง
ผู้ประกอบการต้องจ่ายเงินจำวน 1ล้าน4เเสนบาท พร้อมดอกเบี้ย 7.5 ต่อปี
จ่ายค่ารักษาพยาบาล ให้ผุ้เสียหายไม่เกิน5ปี
ค่าเสียเวลาที่ทำให้ไม่สามารถไปทำงานได้ 9 เเสนบาท
https://www.matichon.co.th/columnists/news_579292
2.อาหารเสริม หมามุ่ยอินเดีย ทำสาวตรังเสียชีวิต
สาเหตุ ผู้บริโภครับประทานอาหารเสริมจากหมาหมุ่ยอินเดีย จนเกิดอาการเเพ้เเละเสียชีวิต
เลขาธิการมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ให้สัมภาษณ์ว่า กรณีที่เกิดขึ้นเข้าข่ายความผิดตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.๒๕๕๑
กรณีนี้เข้าข่ายที่บริษัทต้องรับผิดชอบจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยที่เกิดขึ้น ซึ่งนอกจากผู้เสียหายจะได้รับค่าสินไหมตามที่กำหนดแล้ว ศาลกำหนดให้เยียวยาเชิงลงโทษได้ คืออาจให้มากกว่าที่ผู้เสียหายขอ โดยภาระการพิสูจน์จะเป็นของผู้ขาย และฟ้องคดีได้ภายใน ๓ ปี ซึ่งผู้เสียหายสามารถไปฟ้องคดีเอง โดยใช้ พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.๒๕๕๑ ปรึกษาสภาทนายความในจังหวัด หรือปรึกษามูลนิธิเพื่อผู้บริโภคก็ได้
https://www.consumerthai.org/news-consumerthai/ffc-news/638-สารี’-แนะผู้เสียหายฟ้องคดีให้บริษัทรับผิด-หลังกินผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแล้วเสียชีวิต.html?fbclid=IwAR05Uia_auVwc88I-yyaFUCydYsvZNGqTHoc0TnLegLDlj3yB40nz1zW3Kg
WHAT
กลุ่ม 7