Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของพยาบาลใน การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (ขอบเขตของการรกั ษาโรคเบื้องต้น,…
บทบาทของพยาบาลใน
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ขอบเขตของการรกั ษาโรคเบื้องต้น
ให้การดูแลช่วยเหลือ ส่งต่อ การรักษาโรค และอาการที่พบบ่อยและทาหัตถการที่กาหนด
ให้ยาเพื่อบรรเทาอาการ / รักษาโรคตามแนวทางที่กาหนดไว้ ให้ภูมิคุ้มกันโรคพื้นฐานและให้บริการวางแผนครอบครัว
ติดตามผล การให้การช่วยเหลือ รักษา
รับดูแลผู้ปุวยต่อ เพื่อให้การดูแลที่ต่อเนื่อง
สามารถตรวจ ประเมินสภาพ วินิจฉัยแยกโรคว่า อยู่ในกลุ่มใด แล้วให้การรักษาดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสมตามข้อกาหนดการรักษาโรค เบื้องต้น การให้ภูมิคุ้มกันโรคและการวางแผนครอบครัว
กลุ่มอาการ / ความเจ็บปุวยฉุกเฉินที่ต้องรีบช่วยเหลือ และส่งต่อไปรับบริการที่เหมาะสม
กลุ่มอาการ / ความเจ็บปุวยที่อาจเป็นความเจ็บปุวยที่ร้ายแรง ต้องการการส่งต่อเพื่อรับการรักษา - กลุ่มอาการ / ความเจ็บปุวย โรคที่พบบ่อยที่ให้การบรรเทาอาการ / ให้การรักษาได้
คุณสมบัติของพยาบาลที่รบั ผิดชอบในการตรวจรักษาโรคเบื้องต้น
ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง
มีประสบการณ์ในการปฏิบัติการพยาบาล ไม่น้อยกว่า 2 ปี
ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษาโรคเบื้องต้น) และได้รับประกาศนียบัตร
ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษาโรคเบื้องต้น) กับสภาการพยาบาล
มีการเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการรักษาโรคเบื้องตน้ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2550 ได้กำหนดชนิดของการทำหัตถการที่อยู่ในขอบเขตของวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ที่สามารถปฏิบัติได้ ดังต่อไปนี้
การทำแผล 2. การตกแต่งบาดแผล 3. การเย็บแผล
การตัดไหม 5. การผ่าฝีในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญของร่างกาย
การถอดเล็บ 7. การจี้หูด หรือตาปลา
การผ่าเอาสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญของร่างกายออก โดยฉีดยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง
การล้างตา 10. การสวนกระเพาะปัสสาวะ
การล้างกระเพาะอาหารโดยใช้สายยางในรายที่สงสัยว่ารับประทานสารพิษ 12. การตรวจหลังคลอดและทำ PAP smear
13.การรักษาพยาบาลอื่น คือ การให้น้ำเกลือในผู้ป่วยท้องเดินอย่างรุนแรง การฉีดยาเซรุ่มแก้พิษงู การสวนปัสสาวะ การล้างกระเพาะอาหารโดยใช้สายยางในรายที่สงสัยว่ารับประทานสารพิษ
การจำแนกผู้รับบริการ/ผู้ปวย
เมื่อผู้รับบริการ หรือผู้ป่วยมารับบริการจะต้องชักประวัติตรวจร่างกายทำการนิจฉัยและจำแนกผู้รับบริการผู้ปวยออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
1.กลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องช่วยเหลือเบื้องตันและส่งต่อทันที
1.การหยุดหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทำงาน (Cardiopulmonary arrest 2. การหมดสติ (Unconscousness)
ภาวะช็อค (Shod.
ชัก (Seizure)
5.การแพ้อย่างรุนแรง(Anaphyaxis)
เป็นลม (Syncope /Fainting)
จมน้ำ (Orowning และ Near drowning)
7.โรคหลอดเลือดสมอง(Stcke/Cerebrovas cular disease)
ตกเลือดรุ่นแร (Massive blood loss)
10.ไฟฟ้าช็อต(Electrical injury)
ตกจากที่สูง (Faแing)
ฟ้าฝ้า (Lighthing injury)
14, ภาวะฉุกเฉินทางตา (Eye emergency)
กระดูกหัก (Fracture)
ภาวะฉุกเฉินทางหู (Ear emergency)
16.ภาวะฉุกเฉินทางคอ (Throat emergency)
17.ภาวะฉุกเฉินทางจมูก (Nasal emergenc)
ชิบติดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Zpper injury)
19.การบาดเจ็บที่ศีรษะ (-eadinjur (ถ้ามีอาการรุนแรง)
การบาดเจ็บทรวงอก (Cheat injury)
การบาดเจ็บที่สันหลัง (Spinat injury)
การบาดเจ็บซ่องท้อง (Abdominat injury)
24, อุบัติภัยหมู่ (Mass casualty)
23.บาดแผลไหม้ (Burn) (ถ้ามีอาการรุนแรง)
ได้รับสารพิษหรือยาเกินขนาด (Toxic substance/Drug overdose)
คนกัด (Human bite)
สัตว์กัด (Animal bite)
27.งูกัด (Snake bite)(ถ้าเป็นงูมีพิษหรืออาการรุนแรง)
ผึ้ง ต่อ แตนต่อย (Bee/wasp'-Hornet Sting(ถ้ามีอาการรุนแรง)
แมลงป้องต่อย ตะชายแมงมุมกัด (Scorpion sting Centipede'Sspider bite/ถาทีอาการรุนแรง)
เมนทะเลดำ(Sea urchinskถ้ามีอาการุนแรง)
ได้รับพิษจากแมงกะพรุน Uellyfish dermatitis)
34, ถูกข่มขืน (Rape
พยายามฆ่าตัวตาย ( Suicide)
3ร.คลุ้มคลั่ง อาละวาด Violence)
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
หอบหืตรุนแรง ( Status asthmaticus)
( Acute myocardial infarction)
เป็นลมจากคลื่นความร้อน (Heat stroke)
ภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช
2 กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม
ไข้หนาวสั่น
มีไข้เกิน 7 วัน
บวม
น้ำหนักลด หรือ เพิ่มขึ้นเร็ว
ท้องมาน
หูอื้อ หูตึง
ตามัว เห็นภาพช้อน
อาเจียนเป็นเสือด
กลืนสำบาก
ปัสสาวะ อุจาระเป็นเลือด
ไอเป็นเลื่อด
เลือดออกจากช่องคลอด ประจำเดือนมาผิดปกติ
คอพอก
มีก้อนในที่ต่างๆ
(ช่นข้างคอไหปลาร้าเต้านมรักแร้ซองท้องขาหนีบ อัณฑะ,
มือสั่น
แขนขาเกร็ง/ อ่อนแรง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หนังตาตก
ปากเบี้ยว
ข้อมือตก/ ข้อเท้าตก
ข้ออักเสบ (บวมแดงร้อน)
. หนองในท่อปีสสาวะ
Condylorma (หงอนไก่)
ปวดศีรษะรุนแรง
เวียนศีรษะ
ไอเกิน 14 วัน
มีจุดแดง จ้ำเขียว
กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาโรคเบื้องตัน :
1.อาการในระบบทางเดินหายใจ: ใช้หวัดคัดมูกน้ำมูกไหลไอ หอบ เสียงแหบ
2.อาการทางตาหูคอ จมูก
ตามัวดันตาตาแดง ตาแฉะ ปวดตาคืองตา
เจ็บคอ เจ็บฟ'หูอื้อ/หูตึง
หัตถการต่อไปนี้ จะต้องผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนดและได้รับรองจากสภาการพยาบาล
การใส่และถอดห่วง (IUD) 2. การฝังและถอดยาคุมกำเนิด (Norplant)
การผ่าตัดตาปลา 4. การเลาะก้อนใต้ผิวหนัง บริเวณที่ไม่เป็นอันตราย (หน้า 180 ของข้อกำหนด ฯ เขียนว่า การเลาะ cyst )
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี VIA (Visual Inspection Using Asetic Acid)
การจี้ปากมดลูกด้วยความเย็น (Cryotherapy)