Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ ทฤษฏี กระบวนการ เทคนิค และยังการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกั…
แนวคิด หลักการ ทฤษฏี กระบวนการ เทคนิค และยังการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
ความหมาย วัตถุประสงค์และความสำคัญ
ความหมายการสื่อสาร (Communocation)
การถ่ายทอดข้อมูลข่าสาร ความคิด ความรู้สึก จากบุคคลหรือกลุ่มบุคคล
เป็นการตอบโด้รหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร
คือ การติดต่อกับมนุษย์ด้วยวิธีการต่างๆ
วัตถุประสงค์
เพื่อแจ้งให้ทราบ (Inform) ข่าวสาร เรื่องราว เหตุการณ์
เพื่อสอนหรือให้การศึกษา (Teach or education)
เพื่อสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง(Please of entertain)
เพื่อเสนอหรือชักจูงใจ(Propose or persuade)
เพื่อกระทำการตัดสินใจ (Dispose or decide)
เพื่อเรียนรู้(Learn)
ความสำคัญของการสื่อสาร
เป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทุกสาขาอาชีพ
ก่อเกิดการประสานสัมพันธ์กันระหว่างบุคคลและสังคมช่วยเสริมสร้างความเข้าใจ
เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ และเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาความเจริญของสังคม
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร (Sender)
มีทักษะเลือกใช้ช่องางการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมและประสิทธิภาพ
สามารถแยกแยะจัดระเบียบข่าวสารได้ดี
ช่างสังเกต
สาร(Message)
เรื่องราวที่มีความหมาย หรือสิ่งต่างๆที่อาจอยู่ในรูปของข้อมูล
ความรู็ ความคิด ความต้องการ อารมณ์
ช่องทางการสื่อสาร (Media or channel)
ตามวิธีการเข้าและการถอดรหัส
สื่ออวัจนะ(Nonverbal)
สื่อวัจนะ (Verbal)
ตามประสาทการรับรู็
การเห็น
การฟัง
การเห็นและการฟัง
แบ่งตามระดับการสื่อสารหรือจำนวนผู้รับสาร
บุคคล
กลุ่ม
สื่อสารมวลชน
ตามยุคสมัย
ดั้งเดิม
ร่วมสมัย
อนาคต
ตามลักษณะของสื่อ
ธรรมชาติ
มนุษย์หรือสื่อบุคคล
สื่อสิ่งพิมพ์
ผู้รับสาร(Medi or channel)
บุคคล
กลุ่มบุคคล
มวลชน
ชนิดของการสื่อสาร
ใช้จำนวนผู้สื่อสารเป็นเกณฑ์
การสื่อสารระหว่างบุคคล(Interpersonal Communication)
การสื่อสารกลุ่มใหญ๋(Lage Group Communition)
การสื่อสารในองค์กร(Organizationnal Communication)
การสื่อสารมลชน(Mass Communication)
การสื่อสารภายในตัวบุคคล(Intrapersonnal Communication)
ใช้การเผชิญหน้าเป็นเกณฑ์
การสื่อสารแบบเผชิญหน้า(Face to Face Communication)
การสื่อสารแบบไม่เผชิญหน้า(Interposed Communicaton)
ใช้ความสามารถในการตอบโต้
การสื่อสารทาเดียว(One-way Communication)
การสื่อสารสองทาง(two-way Communication)
ความแตกต่างระหว่างผู้ส่งสารเป็นเกณฑ์
การสื่อสาระหว่างเชื้อชาติ(Interracial Communication)
การสื่อสรระหว่างวัฒนธรรม(Cross-culture Communication)
การสื่อสารระหว่างประเทศ(International communication)
โดยใช้ภาษาเป็นเกณฑ์
การสื่อสารโดยใช้วัจนภาษา(Verbal Communication)
การสื่อสารโดยใช้อวัจนภาษา (Nonverbal Communication)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสื่อสาร
ปัจจัยด้านบุคคล
ทักษะการสื่อสาร
เจตคติ
พื้นฐานทางวัฒนธรรมฝแบบวิถีชีวิต
ความรู้
ปัจจัยด้านสาร
ปัจจัยด้านช่องทางสื่อ
สื่อที่เป็นวาจา
สื่อที่เป็นลายลักษณ์อักษร
ปัจจัยด้านสภาพการสื่อสาร
หลักการและทักษะพื้นฐานการสื่อสาร
ข้อควรปฏิบัติก่อนการสื่อสาร
รู้ถึงจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของการสื่อสารทุกครั้งว่าเราต้องการอะไร
ทำความเข้าใจกับความคิดของตนเองก่อนที่จะสื่อสารไปยังผู้อื่น
ระมัดระวังน้ำเสียง
คำนึงถึงผลการสื่อสารที่เกิดในปัจจุบันและอนาคต
ข้อควรปฏิบัติในการสื่อสารวัจนภาษา
ใช้น้ำเสียงสุภาพ
ออกเสียงชัดเจน
ใบหน้ายิ้มแย้ม
ข้อควรปฏิบัติเมื่อใช้โทรศัพท์
ควบคุมอารมณ์ให้สดชื่น
รับสายทันทีเมื่อมีสายเรียกเข้า
ควรแนะนำตัวทุกครั้งเมื่อโทรไป
พูดด้วยน้ำเสียงอ่อนโยน
ไม่พูดเสียงดังหรือเบาเกินไป
ถามถึงความสะดวกของปลายสาย
ข้อควรปฏิบัติเมื่อใช้ภาษากาย
การยิ้ม
การสังเกตภาษากายของคู่สนทนา
ข้อควรปฏิบัตเมื่อใช้สื่ออนไลน์
ใช้ถ้อยคำสุภาพในการโพส
หลีกเลี่ยงคำหยาบ
ให้เครดิตของบทความหรือรูปที่นำมาใช้
การสื่อสารเชิงบวก
สำรวจอารมณ์ทั้งสองฝ่าย
บอกความรู้สึกของตนเอง
บอกเหตุผล
ถามและรับฝังอีกฝ่าย
เทคนิคการสื่อสารที่ดี
รู้จักและจำได้
การถาม
การฟังอย่างตั้งใจ
การสังเกต
การให้ข้อมูล
การให้กำลังใจ
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
สัมพันธภาพเชิงสังคม(Social Relationship)
สัมพันธภาพแบบใกล้ชิด (Intimate Reralationship)
สัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ(Professional Relarationship)