Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก (Bone and Joint infection download (22)…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิงหรือมีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชนตกจากที่สูง
อาการและอาการแสดง
ปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหัก หรือกระดูกเกยกัน
รอยจ้ำเขียว
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
กระดูกหักที่พบบ่อย
1.กระดูกไหปลาร้าหัก
เกิดขึ้นกับเด็กมากที่สุด โดยเฉพาะในเด็กที่อายุต่ำกว่า 10ปี ส่วนในทารกอาจเกิดจากการคลอดไหล่ติด
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90องศา ให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กอายุมากกว่า 3ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือสำลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3สัปดาห์
2.กระดูกต้นแขนหัก
ทารกแรกเกิด
คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต
อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้ำ เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
3.กระดูกข้อศอกหัก
พบในเด็ก เพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกเด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก
พบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
Volkman's ischemic contracture
กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
รายที่หักแบบ Greenstick อาจใส่เฝือกแบบ Posterior plaster splint ประมาณ 1สัปดาห์เมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่อีก 2-3สัปดาห์
4.การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า6ที่ปี เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึ
งแขนหรือนิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆ ในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายควำมือ
5.กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ
บริเวณปลายล่างๆ หรือส่วนล่าง 1/3 ของลำกระดูก
6 กระดูกต้นขาหัก (fracture of femur)
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2-3 ปี ส่วนมากจะเกิดขึ้นกับเด็กชายมากกว่า เพราะซุกซนกว่า ต่ำแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก บวมตรงต่ำแหน่งกระดูกถ้าอายุต่ำว่า3ปี แก้ไขโดยใหใส่เฝือกขาแบบยาวนาน3-4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ ใหรักษาด้วยวิธี Gallow's หรือ Bryant's traction ถ้าอายุมากกว่า 3ปี แก้ไขโดยทำ Russel's traction
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด birth palsy
ข่ายประสาท brachial plexus
เป็นการรวมตัวของรากประสามไขสันหลัง
Ventral rami
ระดับ C5-T1 เป็นเส้นประสาทที่เลี้ยงกล้ามเนื้อและรับความรู้สึกจากบริเวณไหล่จนถึงปลายมือเมื่อมีภยันตรายต่อข่ายประสาทมีผลทำให้เกิดอาการแขนอ่อนแรง
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอดติดไหล่ เด็กมีน้ำหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การรักษา
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
1.การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ สังเกต คลำดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหวข้อต่างๆ การยก งอหรือเหยียด ตรวจความตึงตัว อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
2.เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
3.จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
3.1 เข้าเฝือกปูน
จัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการหลังเข้าเฝือกภายใน 24ชม.
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
ยกหรือเคลื่อนย้ายเด็ก ต้องระวังเฝือกหัก
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้ำ
แนะนำเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
3.2 การดึงกระดูก
ดูแลให้การดึงกระดุกีประสิทธิภาพตลอด
น้ำหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้นหรือข้างเตียงขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด้กให้ถุกต้องตามชนิดของ Traction
ขณะดึงกระดึงควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction ควรใช้ผ้าตรึงตัวเด็กให้ถูกกับ position ของ traction นั้นๆ
สังเกตุการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
bryant's traction
ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ ไม่เกิน 2ขวบ หรือน้ำหนักไม่เกิน 13กิโลกรัม
2.Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper lim
รักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90องศา กับลำตัว
ผู้ป่วยที่แขนหักและมีอาการบวมมากยังไม่สามารถ reduce และใส่เฝือกได้
3.Dunlop's traction
ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ reduce ได้ หรือในรายที่มีอาการบวมมาก บางกรณีใช้เพียงเพื่อดึงให้ยุบบวมแล้วจึง reduce ใหม่
4.skin traction
ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า 3ขวบเป็นต้นไป traction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ทำให้เกิด foot drop ได้
5.Russell's traction
ใช้ในเด็กโตที่ Fracture shaft of femur หรือ fracture บริเวณ Supracondyla region of femur การทำ traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
3.3 ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation(ORIF)
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้ อาจใช้ plate,screw,nail หรือ wire แพทย์จะพิจารณาทำในรายที่กระดูกหักมากเกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
2.การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ กระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังกายบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆ แรงๆ หลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
3.การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง อาการบวมแดง
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
4.การพยาบาลเพื่อลดความเครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติว่าต้องการช่วยอะไรบ้าง
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกทีดีแก่เด้กและญาติที่มีต่อการรักษาพยาบาลและตัวบุคลากร
จัดกิจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด้กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆแต่ต้องประเมินอาการเจ็บปวดด้วย
5.การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับ พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยสำลีพันเฝือผบริเวณข้อศอก ข้อเข่า ควรคลายสำลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก
6.การพยาบาลเพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอบู่บ้านอย่างถูกต้อง
ดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
สังเกตุอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที ได้แก่ เฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา เขียวคล้ำ,มีไข้สูง
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
รักษาสุขภาพ
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้ำเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตราย
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต
มีความอ่อนแอ กว่าเอ็น เอ็นหุ้มข้อและเยื่อหุ้มข้อ เมื่อมีการแตกหักบริเวณนี้มากกว่า
เยื้อหุ้มกระดูก
มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดีกระดูกหักในเด็กจึงติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูก
สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว เด็กอายุยิ่งน้อยกระดูกยิ่งติดเร็ว
ปัยหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด หรือเชื่อถือได้ยาก
การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน แต่การบวมนี้ก็หายเร็ว
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน
การไหลเวียนของเลือดบริเวณแขน ขา จากการใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่นเกินไปต้องระมัดระวังและแก้ไขทันที เพราะอาจเกิด ภาวะ Volk man
การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อนด้วยศูนย์กระดูกปฐมภูมิ
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษา
ยกเว้น
กระดุกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนิด III,Iv
กระดูกหักจากการหตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
กระดูกหักผ่านข้อ
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน
กระดูกมีแผลเปิด
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด ซึ่งมักเป็นเวลานานกว่า 2สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
การรักษา
จุดสำคัญที่สุดในการรักษาในเด็กภาวะฉุกเฉิน
ช่วยชีวิตเด็กไว้ก่อนแก้ไขเรื่องของทางเดินหายใจ การเสียเลือด ภาวะการณ์ไหลเวียนล้มเหลว
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมักระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
ระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด อาจช่วยได้โดยให้ยาลดปวดจัดให้กระดูกที่หักอยู่นิ่งๆ โดยใช้เฝือกดาม ไม่ดาม ผ้าพันยืด
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดุกให้มีแรวกระดูก ที่ยอมรับได้จนกระดูกที่หักติดดี
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
ระยะต่างๆของการเกิด Volkmann's ischemic contracture แบ่งออกเป็น 3ระยะ
1.ระยะเริ่มต้น
อาการแสดงสำคัญ
บวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว
เจ็บและปวด
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวมทำให้นิ้วแข็ว
ชา
ชีพจรคลำไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
2.ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อบวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำ
เนื่องจาก มีเลือดปะปนอยู่
ผิวหนังพอง
เนื่องจากกล้ามเนื้อมี fascia หุ้มอยู่ fascia นี่ขยายตัวไม่ได้มากนัก จึงทำให้เกิดความอัดดันภายในมาก เป็นเหตุทำให้กล้ามเนื้อถูกสลายตัว เปลี่ยนสภาพเป็น fibrous tissue และหดตัวสั้นทำให้นิ้วและมือหงิกงอ
3.ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ pronator และ flexor ของแขน มือและนิ้ว ทำให้นิ้วหงอกงอ ใช้การไม่ได้
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ๆ
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือกจะงอไ้มากแค่ไหนควรใช้กาารจับชีพจรเป็นหลัก ต้องงอพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา การใช้ slab จะทำให้เฝือกขยายตัวได้บ้าง ยังไม่ควรใส่ circular cast
แนะนำผู้ป่วยปฏิบัติตัวให้ถูกต้องหลังเข้าเฝือก
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลา ควรนอนพัก ยกแขนให้สูงไว้ประมาณ 2-3วัน หรือจนยุบบวม
ถ้ามีอาการบวมมาก และมีอาการเจ็บปวด แสดงว่าเฝือกรัดเส้นโลหิตทำให้เลือดเดินไม่สะดวก ควรรีบปรึกษาแพทย์ทันที
ถ้าเกิดอาการปวด บวม หรือชา จะต้องรีบปรึกษาแพทย์เพื่อตัดเฝือกออกทันที
โรคคอเอียงแต่กำเนิด Congenital muscular Torticollis
เป็นลักษระที่ศรีษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจาก กล้ามเนื้อด้านข้างคอ Sternocleidomastoid ที่ยึดเกาะระหว่างกระดูกหลังหู กับส่วนหน้าของกระดูกไหปลาร้าหดสั้นลง ทำให้เอียงไปด้านที่หดสั้นใบหน้าจะบิดไปด้านตรงข้าม สามารถสังเกตเห็นได้ตั้งแต่อายุน้อยๆ
อาการ
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลกศรีษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศรีษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีเมื่อทำในเด็กอายุน้อยกว่า 1ปี
การยืดด้วยวิธีตัด
จัดท่านอนหงายจัดให้หูข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน หรือหันหน้าจัดให้คางสัมผัสกับไหล่ข้างที่กล้ามเนื้อหดสั้น
การยืดแบบให้เด็กหันศรีษะเอง
หาวิธีการให้เด็กหันหน้ามาด้านที่คอเออียงที่มีกล้ามเนื้อหดสั้น เช่น การให้นม หาวัตถุล่อให้มองตามจากของเล่นต่างๆ จัดท่าขณะนอนหลับ
การใช้อุปกรณ์พยุง
ปรับตำแหน่งศรีษะ
การผ่าตัด
ถ้ายืดกล้ามเนื้อที่หดสั้นไม่ได้ผลภายหลังอายุ 1ปี ควรรับการรักษาโดยการผ่าตัด
อายุที่เหมาะสม ในช่วงอายุ 1-4ปี จะได้ผลดี
ผ่าตัด bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้านคอทั้งสองปลาย หลังผ่าตัดอาจจะต้องใช้อุปกรณ์พยุงคอ และต้องยืดกล้ามเนื้อเพื่อให้คอตรงและป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
Polydactyly
สาเหตุ
พันธุกรรม
การรักษา
โดยการผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
พบมากที่สุดใน polydactyly preaxial เป็น hallux varus ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเจ็บปวดและความยกง่ายกับการสวมใส่รองรองเท้า,การรับรองการแก้ไข
กระดูกสันหลังคด
กระดูกสันหลังคดไปด้านข้างร่วมกับมีการหนุนของปล้องกระดูกสันหลัง เกิดความพิการทางรูปร่างและผิดปกติของทรวงอกร่วมด้วย ถ้าหลังคดมากทรวงอกก็จะผิดปกติมากขึ้นด้วย
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสันหลังบักสองข้างไม่เท่ากันสะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทำได้ยาก
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว ความจุในทรวงอกสองข้างไม่สมมาตรไม่เท่ากัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้างระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อยหลังคดมาก ในเด็กอาจพบไม่บ่อย
เริ่มมีอาการเมื่อยอายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก กระดูกสันหลังเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังคด
การรักษา
ป้องกันไม่ให้โรคเป็นมากขึ้น
แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้กระดูกสันหลังมีความสมดุลและแข็งแรง
วิธีการรักษาขึ้นอยู่กับความโค้งและความก้าวหน้าของโรค
แบบอนุรักษ์นิยม
กายภาพบำบัด
บริหารร่างกาย
การผ่าตัด
เป็นการรักษาสมดุลของลำตัว แก้ไขแนวตรงของร่างกาย รักษาระดับไหล่และสะโพก
การพยาบาลบุคคลเด็กที่มีภาวะสันหลังคด
กระดูกสันหลังคด
โรคที่ผู้ป่วยมีลักษณะของกระดูกสันหลังผิดรูป เริ่มโค้งงอไปทางด้านข้าง และหากวัดมุมส่วนโค้ง หรือที่เรียกว่ากระดูกสันหลังคดจะมีมากกว่า 10 องศา
แบ่งเป็นชนิดต่างๆตามสาเหตุดังนี้
ชนิดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อกระดูกสันหลัง
ชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงกระดูกสันหลัง
อาการและอาการแสดง
ความพิการของกระดูกสันหลังพบกระดูกหลังโค้งไปด้านข้างอาจเกิดดค้งทดแทนเพื่อรักษาไว้ซึ่งสมดุลและท่าที่กระดูกสะบักพบกระดุกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง
เมื่อให้ผู้ป่วยก้มตัวไปด้านหน้าจะมองเห็นตะโหงก จากการหมุนของกระดูกซี่โครง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทำได้ยาก
พบแนวเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวกลางตัว ความจุในทรวงอกข้างในสมมาตรกัน จากการหมุนของซี่โครงไปด้านหน้า
กล้มเนื้อเเละเอ็นด้านเว้าจะหดเข้าและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและขอบกระดูกเชิงกราน ไม่อยุ่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้างระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
สังเกตว่าใส่เสื้อผ้าไม่พอดีสายเสื้อในข้างหนึ่งหลุดบ่อยและความสูงขอบกระโปรงไม่เท่ากัน
เกิดอาการปวดเมื่อยหลังคดมากแต่ในเด็กพบอาการปวดไม่บ่อย
เริ่มมีอาการ เมื่ออายุยิ่งน้อยจะยิ่งมีความพิการมาก และกระดูกสันหลังส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังส่วนอกคด
การรักษา
จุดประสงค์การรักษา
ความคุมหรือลดการคด ของกระดูกสันหลังไม่ได้เพิ่มมากขึ้น การรักษาแบ่งได้เป้น 2 แนวทาง
การรักษาแบบไม่ผ่าตัด
การรักษาแบบผ่าตัด
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะสันหลังคด
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว
โรคกระดูกอ่อน
พบมากในเด็กอายุ 6เดือน - 3ปี
ขาดวิตามินดี โรคไตที่ทำให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อน ทำให้กระดูกหักง่าย ผิดรูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
ความหมาย
โรคของเมตาบอลึซึมของกระดูกที่พบในเด็ก ความบกพร่องในการจับเกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ
อาการและอาการแสดง
ในเด็กเล็กความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรงหลังอ่อน ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป
การรักษา
แบบประคับประครอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตมินดีการป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
Bone and Joint infection
ติดเชื้อในกระดูกและข้อในเด็กถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องอาจทำให้เกิดความพิการตามมาได้
Probable
น่าจะติดเชื้อที่กระดูก
Likely
คล้ายติดเชื้อที่กระดูก
Definte
ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
พบเชื้อที่เป็นสาเหตุ ถ้าไม่พบ Morrey กล่าวว่า ต้องมี อาการ5 ใน6 ดังนี้
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่นๆร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
ข้อบวม
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
มีอาการปวดข้อ
อุณหภูมิร่างกาย >38.3 องศา
Osteomyelitis
อุบัติการณ์
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13ปี
ติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด เช่น femur,tibis,humerus มักเป็นตำแหน่งเดียว
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย,เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือจากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชื้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดุก ทำลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว ทำให้กระดูกส่วนนั้น มีการโก่งผิดรูปของกระดูก อาจต้องผ่าตัดเพื่อยืดกระดูกให้ยาวขึ้น
ข้ออักเสบติดเชื้อ
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง จากการพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด ได้แก่ Arthotomy and drainage
ข้อบ่งชี้
เพื่อระบายหนองหยุดยั้งการทำลายข้อ และเพื่อได้หนองและชิ้นเนื้อในการส่งตรวจ
ภาวะแทรกซ้อน
Growth plate ถูกทำลาย ทำให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูกและการทำหน้าที่เสียไป
ข้อถูกทำลาย
ข้อเคลื่อน
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด
Toberculoous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อเข่า
ข้อเท้า
ข้อสะโพก
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ ไอ จาม ของผู้ป่วย
เชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่านทาง lympho-hematogenous spread ยังอวัยวะต่างๆ
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดุกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลัง จนอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต ปวดข้อ ผิวข้อ ขรุขระ ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
Club Foot เท้าปุก
ข้อเท้าจิกลง ส้นเท้าบิดเข้าใน ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน adduction and cavus
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ ,ติดเชื้อในครรภ์ เป็นต้น
แบบทราบสาเหตุ
positional ciubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
teratologoc clubfoot เป็นชนิดที่มีความแข็งแรงมาก พบใน Syndrome หลายชนิด
neuromuscular clubfoot พบได้ตั้งแต่เป็นและแบบเปิด/ภายหลัง
แบบไม่ทราบสาเหตุ
( ITCEV ) พบตั้งแต่กำเนิด
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
อาศัยหลักการทำให้รูปร่างเท้าเป็นปกติ ได้ผลดีในกรณีที่แข็งไม่มาก มารักษาอายุน้อย ดัดใส่เฝือดเพื่อรักษารูปเท้า เปลี่ยนเฝือกทุก 1-2สัปดาห์
การผ่าตัด
ผ่าตัดเนื้อเยื่อ
ทำในอายุ <3ปี ขึ้นไป ผ่าตัดคลายเนื้อเยื่อ Subtalar joint และยืดเอ็นที่ตึงทำให้การเคลื่อนไหวของข้อเท้าใกล้เคียงปกติ
ผ่าตัดกระดูก
ทำในอายุ 3-10ปี ตัดตกแต่งกระดูกให้รูปร่างใกล้เคียงปกติ
ผ่าตัดเชื้อข้อกระดูก
ช่วงอายุ 10ปี ขึ้นไปทำให้ Subtalar joint เชื่อมแข็ง ไม่โต รูปร่างเท้าใกล้เคียงปกติ
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
รูปบน
แสดงโค้งใต้ฝ่าเท้าสูงเกินไป
รูปกลาง
เป็นโค้งใต้ฝ่าเท้าของคนปกติ
รูปล่าง
เป็นโค้งใต้ฝ่าเท้าแบน
ฝ่าเท้าของคนปกติเมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเราเรียก arch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งเริ่มมีตอนเด้กอายุ 3-10ปี ถ้าโค้งใต้ฝ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
อาการ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่แบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ เช่น การเดินแบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
อย่ารักษาตาปลาด้วยตนเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
cerebral palsy
สาเหตุของโรค
ก่อนคลอด
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครภ์ ได้แก่ ความดันโลหิตสูงเบาหวาน
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
อาจมีสาเหตุจากการติดเชื้อ
ระหว่างคลอดกับหลังคลอด
ปัญหาระหว่างคลอด คลอดยาก สมองกระทบกระเทือน ขาดออกซิเจน ทารกคลอดก่อนกำหนด
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหวได้ 4 ประเภท คือ
spastic CP
มีอาการกล้ามเนื้อเกร็งเเน่น ไม่สามารถหดตัวได้เหมือนกล้ามเนื้อปกติ มีลักษณะแข็งทื่อ
Ataxic CP
กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระเบียบ ทำให้ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้
Athetoid CP
มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน ทำให้เด็กควบคุมสมดุลไม่ได้ทำให้หกล้มได้ง่าย
Mixed CP
ผสมผสานลักษณะทั้ง 3 คือ เด็กคนเดียวที่กล่าวมาแล้วโดยประมาณกันว่า 1ใน4 ของคนที่เป็น
spastic ceredral palsy
hemiplegia
hemiplegia พวกที่มี spasticity ของแขนและขาข้างใดข้างหนึ่งส่วนอีกข้างหนึ่งปกติ
double hemiplegia
มีลักษณะของ hemiplegia ทั้ง 2 ข้างเพียงแต่ความรุนแรงของแต่ละข้างไม่เท่ากัน
quadripiegia หรือ total body involvement
พวกนี้มี involvement ของทั้งแขนและขาทั้ง 2 ข้างเท่าๆกัน ส่วนใหญ่ของ cases พวกนี้มักจะมีneck หรือ cranial nerve involvement ด้วย
Diplegia
involved มากเฉพาะที่ขาทั้ง 2 ข้าง ในขณะที่แขนทั้ง 2 ข้าง gross movement เกือบจะปกติมีเฉพาะส่วนของ fine movement เท่านั้นที่ถูก involved
การรักษา
ป้องกันการผิดรูปต่างๆโดยใช้วิธีทาง
กายภาพบำบัด
อรรถบำบัด
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากินกลุ่ม diazepam
ยาฉีด เฉพาะที่ ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือกลุ่ม botox
การผ่าตัด
การย้ายเอ็น เพื่อสร้างความสมดุลของข้อ
การผ่าตัดกระดูก ในรายที่กระดูกถูกดึงจนผิดรูปแล้ว
การผ่าตัดลดความตึงของกล้ามเนื้อโดยผ่าคลายกล้ามเนื้อที่ยึดตึง
การให้การดูแลรวมถึงให้กำลังใจ โดยพ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนสำคัญกับการพัฒนาการด้านอารมณ์ของเด็ก
การรักษาด้านอื่นๆ
มะเร็งกระดูก Osteosarcoma
พบในเด็กมากกว่าในผุ้ใหญ่ พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง พบร้อยละ
อาการและอาการแสดง
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน้ำหนักไม่ได้มักมีประวัฒิการเกิดอุบัติเหตุ
น้ำหนักลด
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้ออก
การรักษา
การตัดก้อนมะเร็งออกให้หมดป้องกันการแพร่กระจายของโรค
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การผ่าตัด
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูกที่ทำการผ่าตัด
เสี่ยงจาากภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบำบัดและรังสีรักษา
ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัดและปวดหลอน phantompain [บริเวณแขน/ขา ที่ถูกต้อง
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหานไป มีแต่เพียงชั้นบางๆ ที่ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้อง penitoeal และเยื่อ amnion ประกอบกันเป็นผนังปิดหน้าท้อง เช่น ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพราะอาหารและตับ เป็นต้น
การรักษา
การรักษาแบบ conservative
เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่หรือขนาดใหญ่มาก ซึ่งการผ่าตัดรักษาอาจมีปัญหาในการนำอวัยวะภายในเข้าในช่องท้องหรือเมื่อนำเอาอวัยวะภายในเข้าไปช่องท้องได้แล้ว อาจจะทำให้เลือดดำไหลคืนสู่หัวใจเลวลงเพราะมีการลด รอเลวลงเพราะมีการกด ivc หรือทารกหายใจไม่เพียงพอจากการดันกะบังลม
การรักษาด้วยวิธีผ่าตัด
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย
ปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน
Gastroschisis
การที่มีผนังหน้าท้องแยกออกจากกัน
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน
rectai irrigation ด้วย nss อุ่น
เริ่มให้ antibiotic ได้ทันที
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
ตรวจระดับ น้ำตาล เกลือแร่ในกระแสเลือด
การประเมินการหายใจ เตรียม endotraachial tube suction
เจาะเลือดเเม่เพื่อเตรียมทำการจองเลือด เผื่อว่าต้องการให้เลือด
incubator หรือผ้าอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน
การดูแลแบบทั่วไป
การรักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
ให้ Vitamin K 1mg intramuscular
decompression stomach
การอาบน้ำ ไม่ต้องทำเนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
การค้นหาความพิการร่วม
การดูแลเฉพาะ
การทำแผลสะอาด หมาดๆ ไม่รัด
แนวทางการพยาบาล
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาด ลำไส้ส่วนที่สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ